กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการเยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอาธร อุคคติ/นายนันทะ ทองเพ็ง /นางสาวปราณชนก เกนุ้ย

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8291-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L8291-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,645.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชนคืออนาคตของชาติ แต่สังคมไทยกำลังประสบปัญหาที่เกิดขึ้นกับเยาวชน ทั้งเรื่องพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมและความเสี่ยงในเรื่องสิ่งเสพติด ปัญหาทั้งสองนี้กลายเป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของประเทศ ผลการสำรวจระบุว่าเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นอยู่ในวัยประมาณ 14-15 ปี ก่อให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพราะอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน ซึ่งนำไปสู่การทำแท้ง โดยแต่ละปีมีตัวเลขระบุว่าไม่ต่ำกว่า 300,000 ราย นอกจากเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ยังมีค่านิยมการทดลองอยู่ด้วยกัน การแลกคู่นอนกระทั่งเลยเถิดไปถึงการขายบริการทางเพศเพื่อนำเงินไปเที่ยวเตร่หรือซื้อของฟุ่มเฟือย ยิ่งไปกว่านั้นการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ก็กำลังลุกลามเข้าสู่กลุ่มวัยรุ่น และพวกเขาเองกำลังกลายเป็นกลุ่มเสี่ยงไปอย่างเลี่ยงไม่ได้ภัยอันตรายเหล่านี้เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาที่เราต้องช่วยกันรื้อฟื้นค่านิยม “อดเปรี้ยวไว้กินหวาน”กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่งเพื่อจะจัดการกับปัญหาพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมในหมู่วัยรุ่นไม่เพียงปัญหาพฤติกรรมทางเพศเท่านั้น สถานการณ์ปัญหายาเสพติดได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบันส่งผลให้เยาวชนหลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ยาเสพติดไม่เพียงทำลายเยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลในอนาคตที่สำคัญ ยาเสพติดยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และนำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆ ในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ผลการสำรวจล่าสุดพบว่า มีนักเรียนนักศึกษา ( ป.6-ปริญญาตรี) เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดถึงกว่า ๕ ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นยาบ้า รองลงมาเป็นยาไอซ์ ทั้งสองปัญหานี้ คือ เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและยาเสพติดนั้นมักจะโยงใยถึงกัน ซึ่งสาเหตุมาจากการอยากรู้อยากลอง การชักชวนของเพื่อนฝูง การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการตระหนักถึงพิษภัยและผลกระทบที่ตามมา สิ่งยั่วยุ ความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมไปถึงพ่อแม่ผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาในการอบรมเลี้ยงดู เทศบาลตำบลย่านตาขาว ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ “เยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของปัญหาดังกล่าว และรู้จักหลีกเลี่ยงภัยอันตรายเหล่านั้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เยาวชนตระหนักถึงพิษภัยและผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและยาเสพติด ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม
  2. - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เยาวชนเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะโรคเอดส์
  3. - เพื่อสร้างความตระหนักและปลูกฝังจิตสำนึกเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของการรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศ
  4. - เพื่อสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนรักตัวเองและห่างไกลจากสิ่งเสพติด
  5. - เพื่อฝึกฝนทักษะต่างๆที่จำเป็นสำหรับวัยรุ่นเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อเพศสัมพันธ์และสิ่งเสพติด (การวางตัว การคบเพื่อน การคบเพื่อนต่างเพศ และการรู้จักปฏิเสธ)
  6. - เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เยาวชนผู้เข้ารับการอบรมได้ตระหนักเกี่ยวกับพิษภัยของเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และโทษภัยของยาเสพติด
  • เยาวชนผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะโรคเอดส์
  • สามารถสร้างความตระหนักและปลูกฝังจิตสำนึกเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของการรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ ตลอดจนการมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศ
  • สามารถสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนรักตัวเองและห่างไกลจากสิ่งเสพติด ตลอดจนสามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่นทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 16 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้แก่นักเรียนชั้น ม.๒-๓ โรงเรียนวัดนิกรรังสฤษฎ์ จำนวน ๑๐๕ คน ผลการประเมินโครงการจากการทำแบบทดสอบของนักเรียน คะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรม คือ ๑๓.๙๙ คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังการอบรม คือ ๑๕.๖๒ คะแนน ซึ่งเป็นคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งหมด เพิ่มขึ้นมา ๑.๖๓ คะแนน หลังอบรมเสร็จ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เยาวชนตระหนักถึงพิษภัยและผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและยาเสพติด ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะโรคเอดส์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เยาวชนเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะโรคเอดส์
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดและผลกระทบของยาเสพติด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 - เพื่อสร้างความตระหนักและปลูกฝังจิตสำนึกเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของการรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 - เพื่อสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนรักตัวเองและห่างไกลจากสิ่งเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 - เพื่อฝึกฝนทักษะต่างๆที่จำเป็นสำหรับวัยรุ่นเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อเพศสัมพันธ์และสิ่งเสพติด (การวางตัว การคบเพื่อน การคบเพื่อนต่างเพศ และการรู้จักปฏิเสธ)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 - เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เยาวชนตระหนักถึงพิษภัยและผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและยาเสพติด ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม (2) - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เยาวชนเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะโรคเอดส์ (3) - เพื่อสร้างความตระหนักและปลูกฝังจิตสำนึกเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของการรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศ (4) - เพื่อสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชนรักตัวเองและห่างไกลจากสิ่งเสพติด (5) - เพื่อฝึกฝนทักษะต่างๆที่จำเป็นสำหรับวัยรุ่นเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อเพศสัมพันธ์และสิ่งเสพติด (การวางตัว การคบเพื่อน การคบเพื่อนต่างเพศ และการรู้จักปฏิเสธ) (6) - เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนย่านตาขาวพันธุ์ใหม่ห่างไกลยาเสพติดและเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8291-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาธร อุคคติ/นายนันทะ ทองเพ็ง /นางสาวปราณชนก เกนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด