กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น


“ โครงการหยุดการกระจายวัณโรค ”

ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ตำบลหนองช้างแล่น

ชื่อโครงการ โครงการหยุดการกระจายวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหยุดการกระจายวัณโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหยุดการกระจายวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหยุดการกระจายวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองช้างแล่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมานาน ก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมากกระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติ โดยพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรคในระยะเริ่มแรกเน้ท่ีการตรวจรักษาและการป้องกันโรคจากการทบทวนแผนงานวัณโรคแห่งชาติโดยมีข้อเสนอแนะที่ต้องเร่งรัดการดำเนินงานวัณโรคเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอัตราการรักษาหายและกินยาครบหรือท่ีเรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคมากกว่า ร้อยละ 90 แนวทางการรักษาเป็นที่ยอมรับทั่วโลกคือการรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยมีพี่เลี้่ยงซึ่งหมายถึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. หรือบุคคลในครอบครัวคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจนกระทั่งหายขาด ไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรคและการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป   ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.หนองช้างแล่น ปี 2559 มีผู้ป่วย 6 ราย ปี 2560 จำนวน 4 ราย อัตราการรักษาหาย 10 ราย เพื่อให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสร้างความตระหนักในระดับชุมชนและร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาของวัณโรคให้ลดน้อยลง รพ.สต.หนองช้างแล่น จึงได้เร่งรัดดำเนินการป้องกันและควบคุมวัณโรค โดยการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และวิธี DCOTS ในระดับชุมชน รพ.สต.หนองช้างแล่น จึงได้ทำโครงการหยุดกระจายวัณโรคประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรควัณโรคและเพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคปอดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรค 2.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรควัณโรค 3. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคปอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรคเพิ่มมากขึ้น
    2. อัตราการป่วยด้วยโรควัณโรคลดลง จากปี 2560
    3. กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคปอด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรค 2.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรควัณโรค 3. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคปอด
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค 2. จำนวนผู้ป่วยไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร 3. ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคปอด
    127.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรค 2.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรควัณโรค  3. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคปอด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหยุดการกระจายวัณโรค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ตำบลหนองช้างแล่น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด