กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561 ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายสุเมธ แสนดี




ชื่อโครงการ โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1515-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1515-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,140.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชากรเด็กไทยยังคงเป็นปัญหาสำคัญ โดยเฉพาะโรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัด
และเป็นสาเหตุของการสูญเสียฟันของเด็กมากที่สุดซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพช่องปาก การสบฟันตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวันข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 7 ปี 2555 พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 51.7 ในขณะที่ภาคใต้ พบว่าเด็ก 3 ขวบมีอัตราการเกิดสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ เป็นร้อยละ 61สำหรับจังหวัดตรังในปี 2556 พบว่าเด็กอายุ 18 เดือน และ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 11.0 และ 52.1 ตามลำดับ ในขณะที่อำเภอรัษฏาพบว่าเด็กอายุ 18 เดือน และ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 17.0 ,62.1 ตามลำดับ จากกล่าวมาข้างต้น แสดงให้ว่า ปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กแรกเกิดจนถึง 5 ปี ในอำเภอรัษฏายังคงเป็น ปัญหาที่ควรได้รับการส่งเสริมและป้องกันอย่างประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการเด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561 ขึ้น โดยมุ่งเน้นกิจกรรมการให้ทันตสุขศึกษาผ่านการปฏิบัติจริง มีการสำรวจและเฝ้าระวังถึงปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดโรคฟันผุ รวมถึงการบูรณะฟันน้ำนมเชิงรุกในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพช่องปากที่ดี รอยโรคฟันผุลดลง ลดสภาวะการสูญเสียฟันก่อนวัยอันควร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1ตรวจสุขภาพและช่องปากแก่เด็กก่อนวัยเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 2ให้บริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART ในรายที่มีปัญหาโรคฟันน้ำนมผุ 3ประเมินคุณภาพหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART 4ให้บริการเคลือบฟลูออไรด์วานิช 3 เดือน/ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผลการดำเนินงาน ได้เริ่มดำเนินโครงการ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน ในสถานศึกษาของรัฐ ๓ แห่ง คือ
๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากคลอง จำนวน ๔๒ คน ๒. โรงเรียนบ้านควนหนองยาง จำนวน ๒๐ คน
๓. โรงเรียนบ้านไทรบ่วง  จำนวน ๔๓ คน
รวมเด็กก่อนวัยเรียน ๑๐๕ คน ตั้งแต่  พฤษาคม ๒๕๖๑ ถึง กันยายน ๒๕๖๑ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๑.๑ เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการทันตกรรมในกลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนในสถานศึกษาของรัฐ
สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง ๔๒ ๔๒ ๑๐๐ รร.บ้านควนหนองยาง ๒๐ ๒๐ ๑๐๐ รร.บ้านไทรบ่วง ๔๓ ๔๓ ๑๐๐ รวม ๑๐๕ ๑๐๕ ๑๐๐ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ ๙๘ ของเด็กก่อนวัยเรียน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และได้รับการสนับสนุน ให้เกิดสภาวะช่องปากที่ดีผล ปรากฏว่า กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๐๕ คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน ๑๐๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค กลุ่มเป้าหมายไม่มาในวันที่ทำการตรวจ แนวทางการแก้ไข ติดต่อประสานครูผู้ดูแลเข้าไปตรวจในวันที่เด็กมา โรงเรียน ๑.๒ เพื่อลดการเกิดฟันผุลุกลามในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน
สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง (๔๒คน) ๑๘ ๘ ๔๔ รร.บ้านควนหนองยาง (๒๐ คน) ๖ ๔ ๖๖ รร.บ้านไทรบ่วง (๔๓คน) ๒๘ ๑๐ ๓๖ รวม ๕๒ ๒๒ ๔๒ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ  ๗๐ ของเด็กที่มีปัญหาโรคฟันผุ ได้รับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART อย่างน้อย ๑ ซี่/คน ปรากฏว่า  กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๕๒ คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน  ๒๒ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๒ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค เด็กกลัวการทำฟันและอ้าปากนานๆไม่ไหว แนวทางการแก้ไข ใช้เวลาในการค่อยพูดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติให้เด็กๆลดความกลัวและใช้เวลาในการทำให้เร็วขึ้นและเลือกอุดซี่แต่ใช้เวลาไม่นาน แนะนำให้เข้ารับบริการอย่างต่อเนื่องที่ รพ.สต.หนองปรือ
๑.๓ เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนเวลาอันควร สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง (๔๒คน) ๘ ๘ ๑๐๐ รร.บ้านควนหนองยาง (๒๐ คน) ๔ ๔ ๑๐๐ รร.บ้านไทรบ่วง (๔๓คน) ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ รวม ๒๒ ๒๒ ๑๐๐ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ  ๓๐ ของเด็กที่ได้รับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART ได้รับการตรวจเช็คสภาพการคงอยู่ในระยะเวลา ๖ เดือน ปรากฏว่า  กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๒๒ คน ได้รับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART มีวัสดุอุดอยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค ระยะเวลาในการตรวจเช็ค นาน เกินช่วงระยะเวลาชองการดำเนินโครงการที่กำหนดไว้ แนวทางการแก้ไข เลื่อนเวลาในการตรวจเช็ค เป็น ๓ เดือน/ครั้ง ๑ รอบ และกำหนดตรวจเช็คช่วงเวลา ๖ เดือน อีก ๑ ครั้งใน เดือนธันวาคม ๑.๔ เพื่อให้กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนได้รับฟลูออไรด์ ป้องกันฟันผุอย่างทั่วถึง
สถานศึกษา เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) คิดเป็นร้อยละ ศพด.บ้านปากคลอง ๔๒ ๔๒ ๑๐๐ รร.บ้านควนหนองยาง ๒๐ ๒๐ ๑๐๐ รร.บ้านไทรบ่วง ๔๓ ๔๓ ๑๐๐ รวม ๑๐๕ ๑๐๕ ๑๐๐ เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ คือ ร้อยละ ๙๕ ของเด็กก่อนวัยเรียน ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ ปรากฏว่า กลุ่มเป้าหมายจำนวน ๑๐๕ คน เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ จำนวน ๑๐๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ปัญหาอุปสรรค กลุ่มเป้าหมายไม่มาในวันที่ทำกิจกรรม แนวทางการแก้ไข ติดต่อประสานครูผู้ดูแลเข้าไปกิจกรรมในวันที่เด็กมา โรงเรียน ๒. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ๒.๑ การบรรลุตามวัตถุประสงค์   บรรลุตามวัตถุประสงค์ •  ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
๒.๒ จำนวนผู้เข้าร่วมในโครงการ ๑๐๕ คน ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๑๙,๑๔๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๑๙,๑๔๐ บาท  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ   - บาท  คิดเป็นร้อยละ
๔. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน   ไม่มี •  มี ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ) ............................................................................................................. แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ..........................................................................................................

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เด็กหนองปรือ รักษ์มุ่งกู้ฟัน ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1515-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุเมธ แสนดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด