กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาซียะสามะ

ชื่อโครงการ โครงการทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2561 ถึง 10 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2561 - 10 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,110.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพการที่ดีด้วย ท่านรู้หรือไม่ว่าปัยหา่เกี่ยวกับฟันเกือบหมดที่เราเผชิญในช่วงหลัง ของชีวิตเป็นผลมาจากการขาดการดูแลรักษาสุขภาพฟันดีเมื่อเรายังเป้นเด้ก นับสิ่งจำเป็นที่เราจะต้องดูแลรักษาสุขภาพฟันให้ดีตั้งแต่อายุยังน้อย ท่านจะสามารถสอนการดูแลสุขอนามัยของช่องปากที่ถูกต้องให้บุตรหลานของท่าน ซึ่งจะเป้นพื้นฐานสำคัญสำหรับสุขภาพฟันที่แข็งแรงในอนาคตจากการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลของงานทันตสาธารณสุข พบว่าเด็กช่วงวัยเรียนตั้งแต่อายุ 2 ปีถึง 12ปี มีปัญหา ดังนั้นหากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพและสุขภาพและสุขภาพช่องปากแก่เด็กก่อนวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธี ในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กๆนั้น เพื่อให้เด็กได้ตระหนักเห็นว่าเรื่องของทันตสุขภาพนั้นเป้นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดแล้วปรับเปลี่ยนปลูกฝังพฤติกรรมอาจจะทำให้ปัญหาสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะเด้กก็จะมีสุขที่ดีด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด รว่มกับกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงได้คิดที่จะกระตุ้นความสนใจของเด้กและความรุ้โดยเน้นการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน การเผยแพร่ความรู้ให้กับผุ้ปกครอง ผุ้ดุแลเด้ก ตลอดจนผู้สนใจ จะได้มาวิเคราะห์ปัยหาการเกิดโรคในช่องปาก ร่วมกันแก้ปัยหาที่เกิดขึ้น ร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้เจตคติ การปฏิบัติตนของผู้ปกครองให้เห็นความสำคัญของการดุแลสุขภาพช่องปากของเด้กก่อนวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด้กก่อนวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด ผู้ดูแลเด็กผู้ที่สนใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก เด้กนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
  2. เด้กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันที่สวยงามตามวัย
  3. ปัญหาการเกิดโรคในช่องปาก เช่น โรคฟันผุ และเหงือกอักเสบลดลง
  4. ผุ้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด้กก่อนวัยเรียนและส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด้กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันที่สวยงามตามวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด้กก่อนวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด ผู้ดูแลเด็กผู้ที่สนใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปูยุด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟาซียะสามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด