กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง


“ โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอัฟฟาน สังสารี รองประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลห้วยกระทิง

ชื่อโครงการ โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4115-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4115-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมและป้องกันโรค สามารถดำเนินการทั้งบุคคล ครอบครัว ชุมชน โดยจำเป็นต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจของโรคและกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในชุมชนต่างๆของตำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) หมายถึง บุคคลที่ ไดรับการคัดเลือกจากชาวบานในแตละกลุมบาน และไดรับการอบรมตามหลักสูตรที่ กระทรวงสาธารณสุขกําหนดโดยมีบทบาทที่สําคัญใน ฐานะผูนําการเปลี่ยนแปลงดานพฤติกรรม ดานสุขภาพอนามัยการสื่อสารขาวสาธารณสุขการแนะนําเผยแพรความรูการวางแผนและประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขตลอดจนใหบริการสาธารณสุขดานตาง ๆเชน การสงเสริมสุขภาพ การเฝาระวัง และการปองกันโรคการชวยเหลือและรักษาพยาบาลขั้นตนโดยใชยา และเวชภัณฑตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดการปฐมพยาบาลเบื้องตนการฟนฟูสภาพและจัด เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและสร้างกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ จึงเห็นว่าการให้ความรู้กับเด็กและเยาวชนในชุมชนให้ ตระหนักถึงความสําคัญของปญหาสาธารณสุขทั้งใน หมูบาน/ชุมชน รวมทั้งโรงเรียนที่อยูในเขตตำบลห้วยกระทิงโครงการอบรมอสม.นอย ดูแลสุขภาพชุมชนจึงเปนการพัฒนาศักยภาพดานสาธารณสุขของเยาวชนใหมีความรู และสามารถถายทอดความรูต่อใหกับเยาวชนในโรงเรียน ชุมชน และหมู บานไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป สภาเด็กและเยาวชนตำบลห้วยกระทิงตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมความรู้ให้เด็กและเยาวชนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการ อสม.น้อย เพื่อที่จะส่งเสริมศักยภาพของเด็กและเยาวชนให้มีความรู้พื้นฐานด้านสาธารณสุข อันจะนำความรู้ไปไปใช้ประโยชน์และบอกต่อให้กับคนในชุมชน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างกลุ่มเยาวชนจิตอาสา ในการออกไปเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียงโดยสามารถแนะนำข้อมูลสุขภาพเบื้องต้น และยังสามารถที่จะช่วยในการประสานงานกับหน่วยงานอื่นใดเพื่อที่จะสามารถให้ความช่วยเหลือต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู็ ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน
  2. เพื่อให้ เด็กและเยาวชน สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้ เด็กและเยาวชน เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆกับหน่วยงาน ชุมชนด้วยความสมัครใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีความรู ความเขาใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน 2.เด็กและเยาวชน สามารถปฏิบัติงาน และดําเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอยางมีประสิทธิภาพพรอมทั้งดูแลตนเอง ครอบครัว และเยาวชนในชุมชน/หมูบาน
  2. กลุ่มผู้นำเด็กและเยาวชน มีการพัฒนาศักยภาพในการจัดการทางสุขภาพ
  3. เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการดูแลสุขภาพของคนภายในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี

วันที่ 24 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1กิจกรรมประชุมวางแผน/ติดตาม  2  ครั้ง 2.กิจกรรมค่ายเรียนรู้ 2 วัน 1 คืน -กิจกรรมสันทนาการเพื่อสร้างความพร้อมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ทัศนคติด้านสุขภาพ - กิจกรรมฐานเรียนรู้
3.กิจกรรมเยี่ยมผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง โดยแกนนำเด็กและเยาวชน งบประมาณ -ค่าวิทยากรบรรยาย 9 ชั่วโมง x 600 บาท = 5,400.-บาท -ค่าวิทยากรกระบวนการ 4 ชั่วโมงx4คนx300 บาท = 4,800 บาท -ค่าอาหาร 4 มือx70 บาทX6คน=16,800.-บาท ค่าอาหารว่าง 4 มือx35 บาทx60คน=8,400.-บาท ค่าป้าย 1ผืน1,000.-บาท ค่าวัสดุ 52 ชุดๆละ 50 บาท=2,600.-บาท รวม 39,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์จากการประเมิณผงจากแบบสอบถามจำนวน 53คนผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 52.83 เป็นเพศหญิงและเพศหญิง และร้อยล่ะ 47.17 เป็นเพศชาย โดยส่วนใหญ่ มีอายุต่ำกว่า 15ปีร้อยละ 67.92 และอายุ 15 ปีขึ้นไปร้อยล่ะ32.08 ผลการประเมินความคิดเห็นและความพึ่งใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีดังนี้ 1.ความรู้ที่ได้หลังเข้าอบรมเมือเทียบก่อนมาอบรม ร้อยล่ะ 67.7 2.สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลตนเองครองครัว ร้อยละ 59.6 3.กิจกรรมนี้ช่วยส่งเสริมเครือข่าย ความร่วมมือ ร้อยละ 57 4.ระยะเวลาความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม ร้อยละ 68.6 5.รูปแบบกิจกรรม ร้อยละ 70.2 6.สถานที่ใช้จัดกิจกรรม ร้อยละ 72.6 7.รูปแบบการถ่ายทอดของวิทยากร ร้อยละ 63.8 8.กิจกรรมนี้มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ ทักษะและความสามารถ ร้อยละ73.6 9.การนำไปประยุคใช้ ร้อยละ 70.6 10.ความพึงพอใจโดยรวมของกินกรรม ร้อยละ 69.4

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู็ ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี
0.00

 

2 เพื่อให้ เด็กและเยาวชน สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนสามารถนำความรู้ดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและสามารถบอกต่อความรู้ให้คนในชุมชนได้
0.00

 

3 เพื่อให้ เด็กและเยาวชน เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆกับหน่วยงาน ชุมชนด้วยความสมัครใจ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลงานสาธารณสุขมูลฐานในชุมชนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชน มีความรู็ ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน (2) เพื่อให้ เด็กและเยาวชน สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ เด็กและเยาวชน เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆกับหน่วยงาน ชุมชนด้วยความสมัครใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาสาพยาบาลน้อย ร้อยชุมชนสุขภาพดี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4115-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัฟฟาน สังสารี รองประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลห้วยกระทิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด