กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วง ”

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮานาน มะยีแต

ชื่อโครงการ โครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วง

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2561 ถึง 12 มิถุนายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤษภาคม 2561 - 12 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตลาดสด แผงลอย และร้านค้า" เป็นแหล่งซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า และเป็นศูนย์กลางวิถีชีวิตชุมชนที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาดดยตลอด สินค้าส่วนใหย่จะเป็นสินค้าประเภทอาหาร โดยเฉพาะอาหารสดประเภทเนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ และอาหารปรุงสำเร็จ จากการที่ตลาดสดเป็นที่รวมของอาหารจำนวนมาก และการระบาดของโรคติดต่อทางอาหาร บางครั้งพบว่าร้านค้าเป้นแหล่งแพร่กระจาย จากสภาพการณ์การเกิดโรคตำบลปูยุด พบว่าประชาชนมีอุบัติเหตุการเกิดโรคอุจจาระร่วงเพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2559 พบผุ้ป่วย 59 ราย ปี 2562 พบผุ้ป่วยเพิ่มขึ้น 69 ราย อัตราป่วย 1,097 ต่อแสนประชากรบ่งบอกถึงปัญหาที่เริ่มจะมีแนวโน้มสูงขึ้น สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากภาวะสุขวิทยาส่วนบุคคล และการสุขภิบาลอาหารของรัานค้า แผงลอยที่ไม่ถูกสุขลักษณะ จากการตรวจสอบบริบทและสภาพแวดล้อมพบว่าสภาพแวดล้อมไม่เอื้อต่อการจับจ่ายใช้ เพื่อเป็นการคุ้มครองประชาชน/ผู้บริโภคด้านสุขลักษระและการอนามัยสิ่งแวดล้อมเจ้าของตลาด ต้องควบคุมดูแลกิจการของตนอยุ่ในสภาพที่ถูกสุขลักษณะตามที่กำหนดไว้ในข้อบัญญัติของท้องถิ่น อันได้แก่ การดูแลรักษาความสะอาดของอาคารสถานที่ พื้น ผนังเพดาน แผงวางจำหน่ายสินค้า รางระบายน้ำ ห้องน้ำห้องส้วม ที่พักขยะมูลฝอยรวม ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดปัยหาเหตุรำคาญและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อผุ้ขายของในตลาด ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะที่กำหนดในข้อบัญญัติของท้องถิ่น ซึ่งจะครอบคลุมเรื่อง การดูแลความสะอาดของแผงจำหน่ายอาหาร สุขลักษณะส่วนบุคคล (คือไม่เป้นโรคติดต่อหรือเป้นพาหะของโรค) สุขลักษณะในการใช้กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ ประกอบ ปรุง เก้บหรือสะสมอาหารหรือสินค้าอื่น รวมทั้งการรักษาความสะอาดของภาชนะ น้ำใช้และของใช้ต่างๆ จากข้อมูลข้างด้นแสดงให้เห็นถึงปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุข ด้วยความร่วมมือจากภาคประชาชนเป้กหลัก สอดคล้องกับนโยบายสุขภาพภาคประชาชนด้านคุมครองผู้บริโภคที่จำเป็นต้องแก้ปัยหา ร้านค้าแผงลอย การจัดการระดับครอบครัว และการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อประชาชน และชุมชน เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเฉลิมพระเกียรติตำบลปุยุดเห็นสมควรต้องแก้ปัญหาจึงจัดทำโครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วงเพื่อดูแลระบบสุขภาพแบบองค์รวมรับบริการที่เป้นมาตรฐานตามสิทธฺและมัสุขภาวะที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาตลาดสดร้านค้าให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภคอาหาร
  2. เพื่อจัดทำแนวทางที่มีความชัดเจนและเป้นไปตามมาตรฐานมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนร่วมกัน
  3. เพื่อให้ประชาชนลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง
  4. เพื่อสนับสนุนให้มีการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และองค์ความรุ้ เรื่องการบริโภคอาหาร และความปลอดภัย ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ห่างไกลจากโรคอุจจาระร่วง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ตลาดสดร้านค้ามีการพัฒนาและผ่านมาตรฐานการ ปลอดภัย และเป็นตลาดสดน่าซื้อ
  2. ผุ้ประกอบการมีแนวทางปฏิบัติที่มีความชัดเจนและเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน
  3. ประชาชนได้จับจ่ายสินค้าในสถานที่ทีีสะอาด ได้มาตรฐาน และซื้อสินค้าที่มีความปลอดภัย และได้รับการคุ้มครองสิทธฺสุขภาพบริโภค
  4. ประชาชนห่างไกลจากโรคอึุจจาระร่วง และมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาตลาดสดร้านค้าให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อจัดทำแนวทางที่มีความชัดเจนและเป้นไปตามมาตรฐานมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนร่วมกัน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสนับสนุนให้มีการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และองค์ความรุ้ เรื่องการบริโภคอาหาร และความปลอดภัย ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาตลาดสดร้านค้าให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภคอาหาร (2) เพื่อจัดทำแนวทางที่มีความชัดเจนและเป้นไปตามมาตรฐานมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนร่วมกัน (3) เพื่อให้ประชาชนลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง (4) เพื่อสนับสนุนให้มีการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และองค์ความรุ้ เรื่องการบริโภคอาหาร และความปลอดภัย ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ห่างไกลจากโรคอุจจาระร่วง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการประชาอุ่นใจห่างไกลโรคอุจจาระร่วง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮานาน มะยีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด