กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการขยับกายวันละนิด พิชิตโรค ”
ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอาซือลัน มามะ




ชื่อโครงการ โครงการขยับกายวันละนิด พิชิตโรค

ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2496-61-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยับกายวันละนิด พิชิตโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกายวันละนิด พิชิตโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยับกายวันละนิด พิชิตโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2496-61-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงจากสังคมอุตสาหกรรมไปสู่สังคมเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มมาก ทั้งในด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี คนไทยส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่บนโต๊ะทำงานและเพลิดเพลินกับสังคมออนไลน์ จนไม่เวลาออกกำลังกาย ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (กรมอนามัย 2540) กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาสุขภาพสามารถทำได้หลายวิธีได้แก่ การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การใช้ยา การผ่าตัด และการให้อาหารเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นแนวทางที่ใหม่ที่สุดการออกกำลังกาย และการควบคุมอาหารเป็นที่ยอมรับว่าปลอดภัยที่สุดและสามารถทำได้ทุกคน การออกกำลังกายประเภทแอโรบิก (Aerobic Exercise) เป้นกิจกรรมหนึ่งซึ่งมีการยอมรับในวงการแพทย์ และนักวิทยาศาสตร์การกีฬาว่าเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายที่ส่งผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของระบบต่างๆ ของร่างกายได้ดี การออกกำลังกายจะใช้ดนตรีหรือเสียงเพลงประกอบการเคลื่อนไหวของร่างกาย ซึ่งดนตรีจะใช้เป็นสิ่งกระตุ้นให้ผู้ฝึกเพลิดเพลิน ทั้งยังช่วยให้เกิดความสนุกสนานในการออกกำลังกาย การเต้นแอโรบิกเป็นการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาติดต่ออย่างน้อย 20-30 นาที ช่วยเสริมสร้างความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตทั่วร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายปฏิบัติกิจกรรมได้เป็นเวลานาน ทั้งยังช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อในส่วนต่างๆของร่างกายให้แข็งแรงขึ้น ดังนั้นการออกกำลังกายจึงสิ่งที่มีความสำคัญมาก เพราะเป็นการส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ห่างไกลจากโรค โดยเฉพาะการเต้นแอโรบิค ซึ่งในปัจจุบันรัฐบาลกำลังส่งเสริมให้ทุกหมู่บ้าน ทุกตำบลทุกโรงเรียนได้มีการเต้นแอโรบิค ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมของทุกเพศทุกวัย
ดังนั้นทางโรงเรียนบ้านจอเบาะเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพ จึงได้จัดโครงการขยับกาย กระฉับกระเฉงเพื่อสุขภาพทีดีเพื่อให้ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านจอเบาะ ได้ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกาย จิตที่แข็งแรงและกระตุ้นให้เกิดจิตสำนึกในการรักการออกกำลังกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 2. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 3. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี 4. เพื่อเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขยับกายวันละนิด พิชิตโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 2.ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี 4. เสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 2. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 3. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี 4. เพื่อเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีสุขภาพดี แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
0.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 62
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 2. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกายประเภทแอโรบิก 3. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี 4. เพื่อเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขยับกายวันละนิด พิชิตโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขยับกายวันละนิด พิชิตโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2496-61-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาซือลัน มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด