กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ เยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณาสงสว่าง

ชื่อโครงการ เยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3336-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " เยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3336-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุฯ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาติเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (0-12 ปี) จะพบว่าพื้นที่เขตหมู่ 1,8,9 และ 10 ตำบลดอนประดู่ ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา จำนวน 131 คน พบว่ามีน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์ 5 คน คิดเป็นร้อยละ 3.82 น้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.58 ส่วนสูงน้อยกว่าเกณฑ์ 27 คน คิดเป็นร้อยละ 20.61 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทรพอน ได้เล็กเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและผู้ปกครอง สามารถอ่านฉลากโภชนาการได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารขยะ (Junk Food)
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก 0-12 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการแก่ผู้เข้าร่วมประชุม
  3. ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุก 3 เดือน
  4. สรุป/ประเมินภาวะโภชนาการและรายงานผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
  2. เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านโภชนาการในเด็ก 0-12 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและผู้ปกครอง สามารถอ่านฉลากโภชนาการได้
ตัวชี้วัด : เด็กและผู้ปกครอง สามารถอ่านฉลากโภชนาการได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารขยะ (Junk Food)
ตัวชี้วัด : เด็กและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารขยะ (Junk Food) ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการตามวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและผู้ปกครอง สามารถอ่านฉลากโภชนาการได้ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารขยะ (Junk Food) (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก 0-12 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา (2) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการแก่ผู้เข้าร่วมประชุม (3) ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุก 3 เดือน (4) สรุป/ประเมินภาวะโภชนาการและรายงานผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เยาวชนวัยใส ใส่ใจโภชนาการ ต้านอาหารขยะ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3336-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณาสงสว่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด