กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ อสม. แกนนำแม่และเด็กมีความรู้ความเชี่ยวชาญในงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : อสม. แกนนำแม่และเด็กมีความรู้ในงานอนามัยแม่และเด็กไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 ๒. เพื่อให้ อสม. แกนนำแม่และเด็กสามารถดูแลหญิงตั้งครรภ์ทั้งครรภ์ปกติ,ครรภ์เสี่ยงและครรภ์เสี่ยงสูงในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : - ไม่มีทารก ๐-๖ วัน ตายปริกำเนิด -ไม่มีหญิงตั้งครรภ์เสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ทั้งในระหว่างตั้งครรภ์และภายใน ๔๕ วันหลังคลอด
0.00

 

3 ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและมีศักยภาพในการดูแลครรภ์ตนเอง
ตัวชี้วัด : - หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลครรภ์ตนเอง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
0.00

 

4 ๔. เพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : - หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ ๑๒ สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ - หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ - หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง < ๑๐% - น้ำหนักทารกแรกคลอดต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ไม่เกิน ๗%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ อสม. แกนนำแม่และเด็กมีความรู้ความเชี่ยวชาญในงานอนามัยแม่และเด็ก (2) ๒. เพื่อให้ อสม. แกนนำแม่และเด็กสามารถดูแลหญิงตั้งครรภ์ทั้งครรภ์ปกติ,ครรภ์เสี่ยงและครรภ์เสี่ยงสูงในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (3) ๓. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจและมีศักยภาพในการดูแลครรภ์ตนเอง (4) ๔. เพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมที่ ๒ จัดอบรมฟื้นฟู อสม.แกนนำแม่และเด็กประจำพื้นที่ดำเนินการ (3) กิจกรรมที่ ๓ จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงพร้อมทั้งเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหญิงตั้งครรภ์ ๒ ครั้ง/ปี (4) กิจกรรมที่ ๔ ติดตามประเมินหญิงตั้งครรภ์และเยี่ยมบ้านโดยเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม. แกนนำแม่และเด็ก (5) กิจกรรมที่ ๕ มอบของขวัญรางวัลให้แก่หญิงตั้งครรภ์ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน/สรุปวิเคราะห์และประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh