กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรในท้องถิ่นช่วยอาการเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน
รหัสโครงการ 60-L1485-1-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเหลียน
วันที่อนุมัติ 24 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 8,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุกันยา ญัติมิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.288,99.862place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การรักษาอาการเท้าชานี้นอกจากยาและให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมน้ำตาลให้ได้รัดับปกติแล้วยังมีอีกทางเลือกหนึ่งคือการแช่เท้าด้วยสมุนไพรและนวดเท้าอยู่เป็นประจำ วิธีนี้ช่วยกระตุ้นเส้นประสาทที่เท้าและลดอาการเท้าได้เป็นอย่างมีนัยสำคัญ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

 

2 2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า

 

3 3. เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากประธานกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปะเหลียน
  2. ค้นคว้าหาสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น หาเองได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และมีแผลต่อการลดภาวะเท้าชา
  3. ประเมินและค้นหาผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการเท้าตั้งแต่ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไปโดยใช้เครื่องมือ monofilament ตรวจในผู้ป่วยเบาหวานในวันที่มีคลินิกเบาหวาน ทุกวันพุธ
  4. ดำเนินการตามโครงการ (อบรมให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติในเดือน มีนาคม 2560)
  5. ประเมินผลเป้นระยาเวลา 2 เดือน และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ลดภาวะอาการเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวานอย่างน้อย 1 ตำแหน่ง
  2. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถดูแลเท้าเองได้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากอาการเท้าชา
  3. ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาภาวะเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน
  4. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้สมุนไพรภายในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ม.ค. 2560 14:00 น.