โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุไรฮัน ดอเล๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กวัยเรียนเป็นอย่างมากการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและโรคฟันผุ ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญ โดยในเด็กประถมพบฟันผุมากถึงร้อยละ ๕๓ เฉพาะภาคใต้พบสูงถึงร้อยละ ๗๐ซึ่งมีสาเหตุมาจากการดื่มน้ำหวานและขนมแล้วเข้านอนโดยไม่แปรงฟันถึงร้อยละ ๕๐และการเข้ารับบริการดูแลสุขภาพในช่องปากในเด็กประถมมีเพียงร้อยละ ๓๐ เท่านั้น
จากข้อมูลระบบ Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา มีตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ ๖๖ ผลการดำเนินงานพบว่าในภาพรูปของประเทศมีเด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ ๖๕.๕๖ จังหวัดสงขลา ร้อยละ ๖๒.๓๗อำเภอจะนะ ร้อยละ ๖๐.๘๔ และในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาซึ่งมีโรงเรียนประถมศึกษาทั้งหมด ๓ โรงเรียน พบเด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ ๕๙.๘๔ และตัวชี้วัดเด็กอายุ ๑๒ ปีมีฟันดี ไม่ผุร้อยละ ๕๒ พบว่าเด็กอายุ ๑๒ ปีมีฟันดี ไม่ผุในระดับประเทศร้อยละ ๗๒.๑๖ จังหวัดสงขลา ร้อยละ ๖๐.๕๒อำเภอจะนะ ร้อยละ ๔๖.๖๕ และในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางา พบเด็กอายุ ๑๒ ปีมีฟันดี ไม่ผุเพียงร้อยละ ๔๓.๖๔ซึ่งทั้งสองตัวชี้วัดยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้และยังเป็นปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ ทางศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ คู่หู ฟันสวย หุ่นดี ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- ๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย
- ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าจัดทำสื่อสุขศึกษาประชาสัมพันธ์และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ
- กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การแปรงฟัน การบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการตามวัย และการออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อรูปร่างสูงดี สมส่วนแก่นักเรียนและผู้ปกครอง
- กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนหาคู่หูเพื่อติดตามการแปรงฟันและประเมินภาวะโภชนาการของกันและกัน พร้อมทั้งลงบันทึกในแบบบันทึก
- กิจกรรมที่ ๓ ให้อาหารเสริม (นม) แก่นักเรียนที่เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย
- กิจกรรมที่ ๔ ติดตามประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก มากกว่าร้อยละ ๘๐
๒. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการตามวัย มากกว่าร้อยละ ๘๐
๓. นักเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนมากกว่าร้อยละ ๖๐
๔. นักเรียนที่มีฟันผุได้รับการรักษา ร้อยละ ๑๐๐
๕. อัตราการมีฟันผุเพิ่มของนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๑๕
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๑. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง มากว่าร้อยละ ๘๐
0.00
2
๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย
ตัวชี้วัด : ๒. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย มากว่าร้อยละ ๘๐
0.00
3
๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๓. นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง มากว่าร้อยละ ๗๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย (3) ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดทำสื่อสุขศึกษาประชาสัมพันธ์และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ (2) กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การแปรงฟัน การบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการตามวัย และการออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อรูปร่างสูงดี สมส่วนแก่นักเรียนและผู้ปกครอง (3) กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนหาคู่หูเพื่อติดตามการแปรงฟันและประเมินภาวะโภชนาการของกันและกัน พร้อมทั้งลงบันทึกในแบบบันทึก (4) กิจกรรมที่ ๓ ให้อาหารเสริม (นม) แก่นักเรียนที่เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย (5) กิจกรรมที่ ๔ ติดตามประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุไรฮัน ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุไรฮัน ดอเล๊าะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อแบบแผนการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กวัยเรียนเป็นอย่างมากการบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีพ ทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโภคอาหารประเภทจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งการติดเกมส์ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวและออกกำลังกายน้อยลง องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียนและโรคฟันผุ ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสำคัญ โดยในเด็กประถมพบฟันผุมากถึงร้อยละ ๕๓ เฉพาะภาคใต้พบสูงถึงร้อยละ ๗๐ซึ่งมีสาเหตุมาจากการดื่มน้ำหวานและขนมแล้วเข้านอนโดยไม่แปรงฟันถึงร้อยละ ๕๐และการเข้ารับบริการดูแลสุขภาพในช่องปากในเด็กประถมมีเพียงร้อยละ ๓๐ เท่านั้น จากข้อมูลระบบ Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่าในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา มีตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ ๖๖ ผลการดำเนินงานพบว่าในภาพรูปของประเทศมีเด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ ๖๕.๕๖ จังหวัดสงขลา ร้อยละ ๖๒.๓๗อำเภอจะนะ ร้อยละ ๖๐.๘๔ และในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาซึ่งมีโรงเรียนประถมศึกษาทั้งหมด ๓ โรงเรียน พบเด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ ๕๙.๘๔ และตัวชี้วัดเด็กอายุ ๑๒ ปีมีฟันดี ไม่ผุร้อยละ ๕๒ พบว่าเด็กอายุ ๑๒ ปีมีฟันดี ไม่ผุในระดับประเทศร้อยละ ๗๒.๑๖ จังหวัดสงขลา ร้อยละ ๖๐.๕๒อำเภอจะนะ ร้อยละ ๔๖.๖๕ และในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางา พบเด็กอายุ ๑๒ ปีมีฟันดี ไม่ผุเพียงร้อยละ ๔๓.๖๔ซึ่งทั้งสองตัวชี้วัดยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้และยังเป็นปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ ทางศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางาได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ คู่หู ฟันสวย หุ่นดี ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- ๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย
- ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าจัดทำสื่อสุขศึกษาประชาสัมพันธ์และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ
- กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การแปรงฟัน การบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการตามวัย และการออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อรูปร่างสูงดี สมส่วนแก่นักเรียนและผู้ปกครอง
- กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนหาคู่หูเพื่อติดตามการแปรงฟันและประเมินภาวะโภชนาการของกันและกัน พร้อมทั้งลงบันทึกในแบบบันทึก
- กิจกรรมที่ ๓ ให้อาหารเสริม (นม) แก่นักเรียนที่เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย
- กิจกรรมที่ ๔ ติดตามประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก มากกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการตามวัย มากกว่าร้อยละ ๘๐ ๓. นักเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนมากกว่าร้อยละ ๖๐ ๔. นักเรียนที่มีฟันผุได้รับการรักษา ร้อยละ ๑๐๐ ๕. อัตราการมีฟันผุเพิ่มของนักเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๑๕
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๑. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง มากว่าร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
2 | ๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย ตัวชี้วัด : ๒. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย มากว่าร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
3 | ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ๓. นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง มากว่าร้อยละ ๗๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากและการแปรงฟันที่ถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ที่มีประโยชน์ตามวัย (3) ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากและแปรงฟันอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดทำสื่อสุขศึกษาประชาสัมพันธ์และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ (2) กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การแปรงฟัน การบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการตามวัย และการออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อรูปร่างสูงดี สมส่วนแก่นักเรียนและผู้ปกครอง (3) กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนหาคู่หูเพื่อติดตามการแปรงฟันและประเมินภาวะโภชนาการของกันและกัน พร้อมทั้งลงบันทึกในแบบบันทึก (4) กิจกรรมที่ ๓ ให้อาหารเสริม (นม) แก่นักเรียนที่เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย (5) กิจกรรมที่ ๔ ติดตามประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคู่หู ฟันสวย หุ่นดี จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุไรฮัน ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......