กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภัย กรณีการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลชอนสารเดช
วันที่อนุมัติ 13 พฤศจิกายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 5,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลชอนสารเดช
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชอนสารเดช อำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด 15.195,100.709place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4410 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

แนวคิดการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในอดีตมุ่งเน้นการรักษาพยาบาลมากกว่าการป้องกันและควบคุมโรค แต่ประสบการณ์การดำเนินงานด้านสาธารณสุขแสดงให้เห็นว่า การดำเนินมาตรการที่ส่งผลต่อปัจจัยชี้ขาดต่อสุขภาพ ได้แก่ ปัจเจกบุคคลปัจจัยระดับชุมชนหรือสังคม ในระดับชุมชนหรือสังคมจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการมุ่งเน้นการพัฒนายาเพื่อการรักษา สำหรับประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมากในช่วง 2 - 3 ทศวรรษที่ผ่านมา การเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองทำให้ภาคประชาชนและเอกชนมีบทบาทมากขึ้นในเกือบทุกด้าน รวมถึงบทบาทในระบบสาธารณสุขและการจัดสรรงบประมาณแบบเหมาจ่ายรายหัวโดยตรงสู่สถานบริการในพื้นที่ การจัดตั้งกองทุนสุขภาพระดับตำบลจนถึงการกระจายอำนาจโดยให้ท้องถิ่นมีภารกิจและบทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ทรัพยากรในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคถูกจัดสรรสู่หน่วยงานในระดับพื้นที่และบริหารจัดการโดยหน่วยงานในพื้นที่เป็นหลัก โดยปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของระบบกลไก คือ การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชน ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลชอนสารเดช อำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี เป็นหน่วยงานหนึ่งที่เชื่อมโยงในด้านการดำเนินงานและเสริมสร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ โดยสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรต่างๆมีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพอยู่แล้ว แต่ขาดการเชื่อมโยงภาพเชิงระบบและมีความเข้มแข็งแตกต่างกันในพื้นที่ แต่ละชุมชน/หมู่บ้าน ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภัย กรณีการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ขึ้น เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ต่อไปแนวคิดการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในอดีตมุ่งเน้นการรักษาพยาบาลมากกว่าการป้องกันและควบคุมโรค แต่ประสบการณ์การดำเนินงานด้านสาธารณสุขแสดงให้เห็นว่า การดำเนินมาตรการที่ส่งผลต่อปัจจัยชี้ขาดต่อสุขภาพ ได้แก่ ปัจเจกบุคคลปัจจัยระดับชุมชนหรือสังคม ในระดับชุมชนหรือสังคมจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการมุ่งเน้นการพัฒนายาเพื่อการรักษา สำหรับประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมากในช่วง 2 - 3 ทศวรรษที่ผ่านมา การเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองทำให้ภาคประชาชนและเอกชนมีบทบาทมากขึ้นในเกือบทุกด้าน รวมถึงบทบาทในระบบสาธารณสุขและการจัดสรรงบประมาณแบบเหมาจ่ายรายหัวโดยตรงสู่สถานบริการในพื้นที่ การจัดตั้งกองทุนสุขภาพระดับตำบลจนถึงการกระจายอำนาจโดยให้ท้องถิ่นมีภารกิจและบทบาทในการป้องกัน ควบคุมโรค ทรัพยากรในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคถูกจัดสรรสู่หน่วยงานในระดับพื้นที่และบริหารจัดการโดยหน่วยงานในพื้นที่เป็นหลัก โดยปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของระบบกลไก คือ การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชน ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลชอนสารเดช อำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี เป็นหน่วยงานหนึ่งที่เชื่อมโยงในด้านการดำเนินงานและเสริมสร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ โดยสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรต่างๆมีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพอยู่แล้ว แต่ขาดการเชื่อมโยงภาพเชิงระบบและมีความเข้มแข็งแตกต่างกันในพื้นที่ แต่ละชุมชน/หมู่บ้าน ดังนั้นเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จในการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทาง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภัย กรณีการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ขึ้น เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2561 10:19 น.