กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรค หมู่ที่ 6 ”

ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิภารัตน์รัชตพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรค หมู่ที่ 6

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5247-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรค หมู่ที่ 6 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรค หมู่ที่ 6



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรค หมู่ที่ 6 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5247-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,325.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วประชากรได้รับการตอบสนองความต้องการ แต่ปัญหาด้านสุขภาพปัจจุบันนี้จะเห็นได้ว่ากลุ่มโรคเรื้อรังที่มีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้น และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี และพบตัวเลขการเกิดโรคที่มีความสำคัญเกี่ยวกับการกินอาหารอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งอาจเป็นเพราะการดำเนินชีวิตของผู้คนต่างได้เปลี่ยนแปลง เช่น การออกกำลังกายลดลง และสัดส่วนของอาหารที่รับประทานเปลี่ยนทำให้ส่งผลต่อโรคเรื้อรังตามมาซึ่งเป็นแล้วจะเห็นได้ว่าหายยากถึงแม่จะรักษาอย่างต่อเนื่องเพราะเป็นโรคที่ต้องระวังเรื่องอาหารการกินซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่สุดในการใช้ชีวิตประจำวันของเรา จากสถานการณ์ของประชาชนในพื้นที่ ที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พบว่าร้อยละ ๗๐ ของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ ๖๐ ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดัน ( ข้อมูลจาก รพ.สต.คลองรำเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐ สาเหตุที่ทำให้ประชาชนในพื้นที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังเกิดจากสาเหตุหลายอย่าง เช่นการกินอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม เมื่อกินเข้าไปแล้วก็ขาดการออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพที่ไม่ถูกวิธีเมื่อป่วยเป็นโรคเรื้อรังแล้วเราต้องรู้ถึงวิธีการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้ ดังนั้น ในการดำเนินโครงการจากการตรวจคัดกรองผู้ที่เป็นผู้ป่วยเรื้อรังนั้นมีเป้าหมายสำคัญ คือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนในการดูแลสุขภาพระยะยาวและเพื่อเป็นการลดจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังและการเกิดโรคร้ายที่จำตามมาตลอดจนการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ทาง อสม.หมู่ที่ ๖.จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันเรื่องสุขภาพเบื้องต้นของคนในชุมชนจึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพและให้ความรู้ผู้ป่วยเรื้อรัง” และเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของกระทรวงสาธารณสุข ในการใช้จ่ายงบประมาณของกระทรวงในเรื่องสุขภาพเป็นสำคัญและเพื่อให้ผู้ป่วยในหมู่บ้านได้รับการดูแลและรักษาสุขภาพอย่างถูกวิธีและหายขาดมีสุขภาพกายแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมคณะทำงาน
  2. จัดอบรม
  3. จัดบริการสุขภาพ
  4. ส่งเสริมการออกกำลังกาย
  5. ประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ทั้งความรู้เรื่องโรคการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง การรับประทานอาหาร การรับประทานยา การออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
    1. เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ให้ได้มาตรฐานตามตัวชี้วัด
  2. ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตระหนักเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง หลังได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองแบบครบวงจร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมคณะทำงาน

วันที่ 6 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมและให้ความรู้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารจัดเก็บข้อมูลสำรวจให้คณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะผู้ทำงาน เข้าร่วมอบรมรับความรู้ครบตามจำนวน

 

30 0

2. จัดอบรม

วันที่ 11 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายที่ถูกต้องและปลอดภัย

 

50 0

3. จัดบริการสุขภาพ

วันที่ 14 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยง โรคคามดัน และน้ำตาลในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดบริการผู้ป่วยเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง โดยการวัดความดัน เจาะหาน้ำตาลในเลือด

 

50 0

4. ส่งเสริมการออกกำลังกาย

วันที่ 15 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ และจัดกลลุ่มออกกำลังกาย โดยใช้ตาราง 9 ช่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ออกกำลังกาย โดยใช้ตาราง 9 ช่อง อาทิตย์ละ 3 วัน จำนวน 12 สัปดาห์

 

50 0

5. ประเมินผล

วันที่ 6 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินสุขภาพให้กับผู้ป่วยเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รับข้อมูลคืนจากผู้ทำกิจกรรม ประเมินข้อมูลการเปลี่ยนแปลงร่างกายของผู้ร่วมกิจกรรม

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมคณะทำงาน (2) จัดอบรม (3) จัดบริการสุขภาพ (4) ส่งเสริมการออกกำลังกาย (5) ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรค หมู่ที่ 6 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5247-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิภารัตน์รัชตพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด