สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายลพ สืบประดิษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุในปัจจุบันอาศัยอยู่ตามลำพัง บุตรหลานไม่มีเวลาดูแล ต้องทำกิจวัตรและดูแลตนเองในชีวิต
ประจำวันมากขึ้น สุขภาวะทางกายและใจจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินชีวิตประจำวัน ผู้สูงอายุจะต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาวะอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละครั้ง เช่น ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้านองค์ความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุฯลฯ ด้านกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อป้องกันปัญหาข้อขัดต่างๆ เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองอย่างง่ายได้ ประกอบกับปัจจุบันกระแสบริโภคนิยมมีผลต่อสุขภาพอย่างรวดเร็ว หากขาดความรู้ในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารก็จะส่งผลให้เกิดโรคอื่นๆตามมา เช่น อาหารไม่ย่อย ปวดข้อเข่า เหน็บชา โรคขาดสารอาหารต่างๆ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นต้น โดยเฉพาะ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานนับเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก จากการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2557 – 2560 พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่เคยไปหาหมอที่โรงพยาบาล เพราะไม่เคยป่วยหนักถึงขั้นต้องไปโรงพยาบาล เมื่อป่วยจะรักษาเองด้วยการซื้อยากินเองและภูมิปัญญาท้องถิ่น พบผู้สูงอายุหลายคนมีภาวะเสี่ยง และหลายคนได้มีการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยโรคความดัน และเบาหวานโดยแพทย์ เพิ่มขึ้นทุกปี นอกจากนี้ยังพบว่าปัญหาสุขภาพในช่องปากก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลกระทบกับสุขภาพของผู้สูงอายุทุกคน
ด้วยความตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวข้างต้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญกับสุขภาวะผู้สูงอายุ
อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้สูงอายุ รู้สึกมีคุณค่า ไม่ถูกทอดทิ้งจากสังคม ทางศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง โรงพยาบาลหนองจิก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลตุยง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจร่างกายขั้นพื้นฐาน ได้รับความรู้เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาวะทางกาย จิต สังคมและทางปัญญา ให้สอดคล้องกับบริบท วิถีชีวิตในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ
- เพื่อคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ
- เพื่อให้มีการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1
- บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
- เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
526
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น
- ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
- มีการนำข้อมูลที่ได้รับจากการตรวจ คัดกรองสุขภาพไปแก้ไขปัญหาในขั้นตอนต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1
วันที่ 1 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1 ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆได้อย่างถูกต้อง
40
0
2. บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
วันที่ 2 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการบริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ปีละ 3 ครั้ง
526
0
3. เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง
วันที่ 20 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื่้องต้นและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ
0
0
4. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
วันที่ 29 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสอดคล้องกับบริบทในพื้นที่
- คัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้กับให้ผู้สูงอายุ จำนวน 526 คน
ผลการคัดกรองเบาหวาน
1 กลุ่มปกติจำนวน 395 คน
2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 81 คน
3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 15 คน
4 กลุ่มป่วยเบาหวาน 30 คน
5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5 คน
ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง
1 กลุ่มปกติ 59 คน
2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89) จำนวน 129 คน
3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109) จำนวน 85 คน
4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป ) จำนวน 11 คน
5 กลุ่มป่วย 151 คน
6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM 91 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆได้อย่างถูกต้อง
90.00
90.00
2
เพื่อคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ
90.00
90.00
3
เพื่อให้มีการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกปี
ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
1.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
526
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
526
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ (2) เพื่อคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ (3) เพื่อให้มีการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1 (2) บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (3) เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง (4) ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายลพ สืบประดิษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายลพ สืบประดิษ์
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3065-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,680.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุในปัจจุบันอาศัยอยู่ตามลำพัง บุตรหลานไม่มีเวลาดูแล ต้องทำกิจวัตรและดูแลตนเองในชีวิต
ประจำวันมากขึ้น สุขภาวะทางกายและใจจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินชีวิตประจำวัน ผู้สูงอายุจะต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาวะอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละครั้ง เช่น ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้านองค์ความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุฯลฯ ด้านกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อป้องกันปัญหาข้อขัดต่างๆ เพื่อที่จะสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองอย่างง่ายได้ ประกอบกับปัจจุบันกระแสบริโภคนิยมมีผลต่อสุขภาพอย่างรวดเร็ว หากขาดความรู้ในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารก็จะส่งผลให้เกิดโรคอื่นๆตามมา เช่น อาหารไม่ย่อย ปวดข้อเข่า เหน็บชา โรคขาดสารอาหารต่างๆ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นต้น โดยเฉพาะ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานนับเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก จากการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2557 – 2560 พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่เคยไปหาหมอที่โรงพยาบาล เพราะไม่เคยป่วยหนักถึงขั้นต้องไปโรงพยาบาล เมื่อป่วยจะรักษาเองด้วยการซื้อยากินเองและภูมิปัญญาท้องถิ่น พบผู้สูงอายุหลายคนมีภาวะเสี่ยง และหลายคนได้มีการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยโรคความดัน และเบาหวานโดยแพทย์ เพิ่มขึ้นทุกปี นอกจากนี้ยังพบว่าปัญหาสุขภาพในช่องปากก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลกระทบกับสุขภาพของผู้สูงอายุทุกคน
ด้วยความตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวข้างต้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความสำคัญกับสุขภาวะผู้สูงอายุ
อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้สูงอายุ รู้สึกมีคุณค่า ไม่ถูกทอดทิ้งจากสังคม ทางศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ หมู่ที่ 3 บ้านโคกดีปลี ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง โรงพยาบาลหนองจิก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลตุยง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจร่างกายขั้นพื้นฐาน ได้รับความรู้เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาวะทางกาย จิต สังคมและทางปัญญา ให้สอดคล้องกับบริบท วิถีชีวิตในพื้นที่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ
- เพื่อคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ
- เพื่อให้มีการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1
- บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
- เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง
- ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 526 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น
- ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพระหว่างกัน
- มีการนำข้อมูลที่ได้รับจากการตรวจ คัดกรองสุขภาพไปแก้ไขปัญหาในขั้นตอนต่อไป
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1 ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆได้อย่างถูกต้อง
|
40 | 0 |
2. บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำบริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการบริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ปีละ 3 ครั้ง
|
526 | 0 |
3. เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2561กิจกรรมที่ทำเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื่้องต้นและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ
|
0 | 0 |
4. ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสอดคล้องกับบริบทในพื้นที่
- คัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้กับให้ผู้สูงอายุ จำนวน 526 คน
ผลการคัดกรองเบาหวาน
1 กลุ่มปกติจำนวน 395 คน
2 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 81 คน
3 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 15 คน
4 กลุ่มป่วยเบาหวาน 30 คน
5 กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5 คน
ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูง 1 กลุ่มปกติ 59 คน
2 กลุ่มเสี่ยงแฝง ( ความดันโลหิตมากกว่า 120/80 - 139/89) จำนวน 129 คน
3 กลุ่มเสี่ยงสูง ( ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 -179/109) จำนวน 85 คน
4 สงสัยเป็นโรค ( ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ขึ้นไป ) จำนวน 11 คน 5 กลุ่มป่วย 151 คน
6 กลุ่มเสี่ยง HT,DM 91 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆได้อย่างถูกต้อง |
90.00 | 90.00 |
|
|
2 | เพื่อคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นระบบ |
90.00 | 90.00 |
|
|
3 | เพื่อให้มีการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกปี ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
1.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 526 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 526 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคต่างๆ (2) เพื่อคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้นและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ (3) เพื่อให้มีการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องทุกปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 1 (2) บริการคัดกรอง ตรวจสุขภาพร่างกายเบื้องต้น ให้แก่ผู้สูงอายุ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (3) เยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้าน/ติดเตียง (4) ประชุมคณะกรรมการศูนย์ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ครั้งที่ 2
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3065-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายลพ สืบประดิษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......