กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ อสม.และแกนนำสุขภาพห่วงใยผู้ป่วยใส่ใจผู้ป่วยวัณโรค ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางพรพิไลประแก้ว

ชื่อโครงการ อสม.และแกนนำสุขภาพห่วงใยผู้ป่วยใส่ใจผู้ป่วยวัณโรค

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3068-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"อสม.และแกนนำสุขภาพห่วงใยผู้ป่วยใส่ใจผู้ป่วยวัณโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อสม.และแกนนำสุขภาพห่วงใยผู้ป่วยใส่ใจผู้ป่วยวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " อสม.และแกนนำสุขภาพห่วงใยผู้ป่วยใส่ใจผู้ป่วยวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3068-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคตหากไม่หยุดการแพร่กระจายเชื้อ ร่วมกับเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนานอาจจะกลายพันธ์เป็น “ วัณโรคดื้อยาทุกขนาน “ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ 2558 ได้กำหนดให้ วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หากพบผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคหรือต้องสงสัยแล้ว ไม่แจ้งพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท การพิจารณาว่าผู้ป่วยมีวัณโรคดื้อยาหรือไม่นั้นจำเป็นอย่างยิ่งต้องส่งตรวจเสมหะ เพื่อทำการเพาะเชื้อวัณโรค และทดสอบความไวต่อยา เพื่อเป็นการบ่งชี้ผลการวินิจฉัยว่ามีเชื้อวัณโรคดื้อยา เช่น วัณโรคปอดดื้อยาอย่างน้อย 2 ขนาน หรือวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก ตำบลบางตาวา มีผู้ป่วยขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคกำลังรักษา จำนวน 3 ราย และมีเชื้อดื้อยา 1 ราย และมีผู้สัมผัสร่วมบ้านจำนวนหลายรายที่ต้องเฝ้าระวังการติดเชื้อวัณโรค จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความรู้การป้องกันและดูแลตนเองป้องกันการติดเชื้อวัณโรคร่วมบ้าน โดยที่สามารถร่วมกันทำ ป้องกันได้ เช่น ส่งเสริมการออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ทำความสะอาดมือ ก่อน และหลังสัมผัสสิ่งต่างๆ ใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย เช่น หน้ากากอนามัยในแหล่งชุมชน ตรวจสุขภาพประจำปี หากมีอาการผิดปกติให้รีบมาพบแพทย์ รวมถึงแนวทางการดูแลผู้ป่วยวัณโรคปอดดื้อยา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้ป่วยวัณโรคกินยาอย่างถูกต้องต่อหน้าพี่เลี้ยง
  2. 2.การดื้อยาในผู้ป่วยวัณโรคจะไม่มีในพื้นที่ตำบลบางตาวา
  3. 3.พี่เลี้ยงกำกับการให้ผู้ป่วยกินยาต่อหน้ามีความรู้ ความสามารถดูแลผู้ป่วยวัณโรคหายขาดจากภาวะเจ็บป่วย รวมถึงบุคคลใกล้ชิดมีความรู้สามารถป้องกันตนเองและบุคคลในครอบครัวไม่ให้เป็นผู้สัมโรควัณโรคได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 จัดเวทีโฟกัสกรุ๊ปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรควัณโรค และวัณโรคดื้อยา1.1 กิจกรรมย่อย 1..1.1 .ลงติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน รวมทั้งค้นหาคัดกรองผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 1.1.2 รณรงค์ค้นหาและตรวจเสมหะกลุ่มเสี่ยง ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 8
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 17
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 18
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 2
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดการป่วย การตาย การขาดยา การดื้อยา คือ ค้นให้พบ จบด้วยหาย 2.พัฒนาระบบและเครือข่ายการป้องกันดูแลรักษา 3.อสม.และเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแล ให้คำปรึกษาทางด้านปัญหา สุขภาพ หรือความเจ็บป่วย ภาคประชาชน 4.ประชาชนในพื้นที่ เข้าถึงสถานบริการ และสามารถพึ่งตนเองได้ ทั้งในสถานบริการของรัฐ และในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 จัดเวทีโฟกัสกรุ๊ปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรควัณโรค และวัณโรคดื้อยา1.1 กิจกรรมย่อย 1..1.1 .ลงติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน รวมทั้งค้นหาคัดกรองผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 1.1.2 รณรงค์ค้นหาและตรวจเสมหะกลุ่มเสี่ยง ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.1.จัดทำเวทีโฟกัสกรุ๊ป ให้ความรู้เรื่องโรควัณโรค และวัณโรคดื้อยาที่สามารถติดต่อโดยทางเดินหายใจ แก่กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วย และผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 1.2.ให้ความรู้กับพี่เลี้ยงทีดูแลผู้ป่วยที่ให้กินยาต่อหน้า หรือแนวทางการติดตามการรักษาโดยทีมพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ 2 2.1.ลงติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน รวมทั้งค้นหาคัดกรองผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 2.2รณรงค์ค้นหาและตรวจเสมหะกลุ่มเสี่ยง ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ลดการป่วย การตาย การขาดยา การดื้อยา คือ ค้นให้พบ จบด้วยหาย 2.พัฒนาระบบและเครือข่ายการป้องกันดูแลรักษา 3.อสม.และเครือข่ายสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแล ให้คำปรึกษาทางด้านปัญหา สุขภาพ หรือความเจ็บป่วย ภาคประชาชน 4.ประชาชนในพื้นที่ เข้าถึงสถานบริการ และสามารถพึ่งตนเองได้ ทั้งในสถานบริการของรัฐ และในพื้

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้ป่วยวัณโรคกินยาอย่างถูกต้องต่อหน้าพี่เลี้ยง
ตัวชี้วัด : ลดการ ป่วย การตาย การขาดยา
0.00

 

2 2.การดื้อยาในผู้ป่วยวัณโรคจะไม่มีในพื้นที่ตำบลบางตาวา
ตัวชี้วัด : การดื้อยา คือ ค้นให้พบ จบด้วยหาย
0.00

 

3 3.พี่เลี้ยงกำกับการให้ผู้ป่วยกินยาต่อหน้ามีความรู้ ความสามารถดูแลผู้ป่วยวัณโรคหายขาดจากภาวะเจ็บป่วย รวมถึงบุคคลใกล้ชิดมีความรู้สามารถป้องกันตนเองและบุคคลในครอบครัวไม่ให้เป็นผู้สัมโรควัณโรคได้
ตัวชี้วัด : ส่งเสมหะส่งตรวจในผู้ป่วยต้องสงสัย หรือผู้สัมผัสร่วมบ้าน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 8
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 17
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 18
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 2
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้ป่วยวัณโรคกินยาอย่างถูกต้องต่อหน้าพี่เลี้ยง (2) 2.การดื้อยาในผู้ป่วยวัณโรคจะไม่มีในพื้นที่ตำบลบางตาวา (3)  3.พี่เลี้ยงกำกับการให้ผู้ป่วยกินยาต่อหน้ามีความรู้ ความสามารถดูแลผู้ป่วยวัณโรคหายขาดจากภาวะเจ็บป่วย รวมถึงบุคคลใกล้ชิดมีความรู้สามารถป้องกันตนเองและบุคคลในครอบครัวไม่ให้เป็นผู้สัมโรควัณโรคได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีโฟกัสกรุ๊ปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องโรควัณโรค และวัณโรคดื้อยา1.1 กิจกรรมย่อย 1..1.1 .ลงติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน รวมทั้งค้นหาคัดกรองผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 1.1.2 รณรงค์ค้นหาและตรวจเสมหะกลุ่มเสี่ยง ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อสม.และแกนนำสุขภาพห่วงใยผู้ป่วยใส่ใจผู้ป่วยวัณโรค จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3068-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรพิไลประแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด