กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางอรพินธ์ เขียวชุม




ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโทษของการสูบุหรี่ (2) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมโครงการสามารถลด ละ เลิกบุหรี่ (3) เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบในการลด ละ เลิกบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองการสูบบุหรี่ (2) ประชาสัมพันธ์ค้นหาผู้เข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โทษของบุหรี่และสมุนไรลด ละ เลิกบุหรี่ (4) ติดตามเยี่ยมบ้าน ประเมิณการสูบบุหรี่หลังเข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรขอความร่วมมือจากผู้ดูแล จิตอาสา อสม. ในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง (2) ควรมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างพลังกลุ่มเป้าหมายและบุคคลในครอบครัวให้มีส่วร่วมในการสร้างแรงจูงใจ และให้กำลังใจผู้สูบบุหรี่ให้สามารถลด ละ เลิกบุหรี่สำเร็จ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่ สิ่งเสพติดที่คนส่วนใหญ่ให้ความนินมมากที่สุด เพราะยังมีผู้สูบบุหรี่รายใหม่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และหากยังคงสูบบุหรี่ต่อไปนานๆ ก็จะหยิ่งติดบุหรี่หนักจนไมาสามารถเลิกบุหรี่ได้ ซึ่งโทษของบุหรี่ก็อาจเป็นข้ออ้างหนึ่งของคนที่ไม่อยากเลิกหรือไม่มีความพยายามเท่านั้น เนื่องจากในบุหรี่เต็มไปด้วยสารนิโคติลที่หากร่างกายได้รับไปนานๆ จะส่งผลให้เกิดโรคมะเร็งปอด โรคหัวใจและส่งผลต่ออวัยวะอื่นๆตามมามากมาย นอกจากนี้ ควันบุหร่ียังมีประสิทธิภาพในการทำร้านคนรอบข้างอีกด้วย จากข้อมูลขององค์กรอนามัยโลก พบว่า แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ 5 ล้านคน ซึ่งเทียบเท่ากับเดือนละเกือบ 11000 คน หรือวันละ 8 คน และในบุหรี่มีสารเคมี 4000 กว่าชนิด เช่น formaldehyde (สารเคมีที่ใช้ดองศพ) carbon monoxide (เช่นเดียวกับควันจากท่อไอเสียเครื่องยนต์) สาร acetone (สารเคมีล้างเล็บ) ซึ่งสารเหล่านี้ ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทางโรคข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องตนเองจากการได้รับควับบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้ นอกจากนั้น งานวิจัยพบว่า ในแต่ละปีคนไทยเสียชีวิต จากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ปีละ 52000 คน หรือชั่วโมงละ 6 คน และผู้ที่ติดบุหรี่ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เริ่มสูบและติดบุหรี่ ตั้งแต่ยังอยู่ในวัยรุ่น ในช่วงอายุ 11-18 ปี โดยยังสูบต่อเนื่องไปจนอยู่ในวัยเยาวชน ในช่วงอายุ 119-25 ปี และผู้ใหญ่ตอนต้น ในช่วงอายุ 25-35 ปี ซึ่งพบว่าจำนวนประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปทั้งสิ้น 54.8 ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน (ร้อยละ 20.7) โดยเป็นผุ้สูบบุหรี่ประจำ 10 ล้านคน (ร้อยละ 18.2 ) เป็นผู้สูบบุหรี่นานๆ ครั้ง 1.4 ล้านคน (ร้อยละ 2.5 ) เมื่อพิจารณา อัตราการสูบตามกลุ่มวัย พบว่ากลุ่มวัยทำงาน (25/59 ปี) มีอัตราการสูบสูงสุด (ร้อยละ 23.5) รองลงมาคือกลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) และกลุ่มเยาวชน (15-24 ปี) (ร้อยละ16.6 และ 14.7 ตามลำดับ) อัตราการสูบบุหรี่ ของผู้ชายมากกว่า ผู้หญิง 18.4 เท่า (ร้อยละ 40.5 และ 22 ตามลำดับ) นอกเขตเทสบาล มีอัตราการสูบบุหรี่สุงกว่าในเขเทสบาล 1.3 เท่า (ร้อยละ 23.0 และ 18.0 ตามลำดับ) จากการคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 15-70 ปี จำนวน 7748 คน ในปีงบประมาณ 2560 ของ รพ.สต.ม่วงงาม พบผู้สูบบุหรี่ 497 คน คิดเป็นร้อยละ 6.41 ผุ้สูบบุหรี่ได้รับการบำบัด 408 คน คิดเป็นร้อยละ 5.26 ลดประมาณการสูบบุหรี่ลง 219 คน คิดเป็นร้อยละ 53.67 คน ของผู้ที่ได้รับการบำบัด เลิกสูบบุหรี่ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 5.40 ซึ่งถือว่าการคัดกรองสูบบุหรี่ การเข้าถึงบริการของผู้สูบบุหรี่ยัน้อยในปีงบปประมาณ 2561 รพ.สต.ม่วงงาม จึงมีแนวทางในแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ โดยการจัดทำโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลาขึ้น ดดยใช้ยาอมสมุนไพรที่หาได้ในท้งถิ่นลดความอยากบุหรี่และลดสารนิโคตินในร่างกาย ส่งผลให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลดประมาณการสูบลงจนนำไปสู่การเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโทษของการสูบุหรี่
  2. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมโครงการสามารถลด ละ เลิกบุหรี่
  3. เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบในการลด ละ เลิกบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองการสูบบุหรี่
  2. ประชาสัมพันธ์ค้นหาผู้เข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โทษของบุหรี่และสมุนไรลด ละ เลิกบุหรี่
  4. ติดตามเยี่ยมบ้าน ประเมิณการสูบบุหรี่หลังเข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ลดประมาณการสูบบุหรี่ และสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการที่สามารถเลิกสูบบุหรี่เกิดการร่วมกลุ่มเป็นต้นแบบในการลด ละ เลิกสูบบุหรี่ให้กับผู้อื่นได้ฃ
  3. ไม่พบผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในพื้นที่ตำบลม่วงงาม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อบรมให้ความรู้โทษบุหรี่ สมุนไพรลด ละ เลิกบุรี่ มีผู้นใจเข้าร่วม 60 คน หลังจากจัดกิจกรรม มีผู้สนใจเป็นบุคคลต้นแบบและสมัครใจเป็นจิตอาสาร่วมดำเนินลด ละ เลิกบุหรี่ จำนวน 6 คน แต่บุคคลเหล่านี้ยังไม่สามารถเลิกได้ และสูบในปริมาณที่ลดน้อยลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโทษของการสูบุหรี่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโทษของการสูบบุหรี่ ร้อยละ 80
0.00 93.20

 

2 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมโครงการสามารถลด ละ เลิกบุหรี่
ตัวชี้วัด : ผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการสามารถลด ละ เลิกบุหรี่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
0.00 60.00

 

3 เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบในการลด ละ เลิกบุหรี่
ตัวชี้วัด : เกิดบุคคลต้นแบบในการลด ละ เลิกบุหรี่
0.00 6.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโทษของการสูบุหรี่ (2) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมโครงการสามารถลด ละ เลิกบุหรี่ (3) เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบในการลด ละ เลิกบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองการสูบบุหรี่ (2) ประชาสัมพันธ์ค้นหาผู้เข้าร่วมโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โทษของบุหรี่และสมุนไรลด ละ เลิกบุหรี่ (4) ติดตามเยี่ยมบ้าน ประเมิณการสูบบุหรี่หลังเข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรขอความร่วมมือจากผู้ดูแล จิตอาสา อสม. ในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง (2) ควรมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างพลังกลุ่มเป้าหมายและบุคคลในครอบครัวให้มีส่วร่วมในการสร้างแรงจูงใจ และให้กำลังใจผู้สูบบุหรี่ให้สามารถลด ละ เลิกบุหรี่สำเร็จ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยยาอมสมุนไพร ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรพินธ์ เขียวชุม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด