กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู


“ โครงการเด็กตำบลปากู สดใส ร่วมใจรับวัคซีนตามเกณฑ์ ”

ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟารีดะ วาเลาะแต

ชื่อโครงการ โครงการเด็กตำบลปากู สดใส ร่วมใจรับวัคซีนตามเกณฑ์

ที่อยู่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2988-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กตำบลปากู สดใส ร่วมใจรับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตำบลปากู สดใส ร่วมใจรับวัคซีนตามเกณฑ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กตำบลปากู สดใส ร่วมใจรับวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2988-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เล็งเห็นถึงความสำคัญว่าวัคซีนเป็นเครื่องมือป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพสูงจึงได้นำวัคซีนที่มีคุณภาพและเหมาะสมสำหรับประเทศ มาบรรจุในโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้บริการแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมายาวนานมากว่า ๓๐ ปีแล้ว โดยมีนโยบายด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่สำคัญคือ การให้บริการวัคซีนป้องกันโรคที่มีความจำเป็นครอบคลุมจำนวนโรคให้มากที่สุด ให้ครอบคลุม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสูงที่สุด ประชากรกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน จัดให้มีการให้บริการวัคซีนในทุกระดับของสถานบริการ วัคซีนที่ใช้ต้องมีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคสูงและต้องมีความปลอดภัย และให้บริการโดยไม่คิดมูลค่าแม้ว่าวัคซีนจะไม่ใช่ยารักษาโรค แต่วัคซีนก็เป็นเครื่องป้องกันที่ช่วยให้เด็กๆปลอดภัยจากโรคร้ายที่มากล้ำกรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กวัยขวบปีแรกที่มีอัตราเสี่ยงสูงในการต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายการรับวัคซีนเพื่อสร้างภูมิต้านทานเป็นวิธีที่ง่ายดายปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการป้องกันเด็กจากโรคบางอย่างความเสี่ยงจากโรคเหล่านั้นมากมายหลายเท่าเพื่อให้ได้รับภูมิต้านทานที่ครบถ้วนเด็กจะต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุทั้งหมดและควรได้รับตรงเวลาอีกด้วย เนื่องจากเกิดโรคระบาดขึ้นในจังหวัดปัตตานีเช่น โรคคอตีบซึ่งทำให้เด็กตายลง เด็กที่เสียชีวิตนั้นไม่ได้รับการฉีดวัคซีนเลยแม้แต่ครั้งเดียวจึงไม่มีภูมิต้านทานโรค
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปี ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู พบว่า ในปี ๒๕๖๐ มีเด็กอายุ ๐-๕ ปี มารับบริการฉีดวัคซีนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๒๕ โดยแยกกลุ่มอายุดังนี้คือ ๑ ปี , ๒ ปี , ๓ ปี และ ๕ ปี ซึ่งการที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ตรงตามกำหนด เช่น ได้รับวัคซีนก่อนหรือหลังเกณฑ์กำหนด, หรือ ระยะห่างในการรับวัคซีนแต่ละชนิดไม่ถูกต้อง จะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคของวัคซีนบางชนิดลดลง หรือ ทำให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน จากการวิเคราะห์สาเหตุพบว่า ทั้งนี้ปัญหาที่พบส่วนหนึ่งเกิดจากขาดระบบการติดตามที่ไม่ต่อเนื่อง เด็กที่มารับวัคซีนตามนัดกับเด็กที่อยู่ในกลุ่มติดตามยังไม่มีการแยกทะเบียนที่ชัดเจน
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากู ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของระบบการติดตาม และการแยกประเภทผู้มารับบริการที่ชัดเจน จึงได้สร้างระบบเครือข่ายชุมชนเพี่อให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือให้ความร่วมมือในการติดตามเด็กที่ขาดนัดหรือไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุให้ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุที่กำหนดเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ มากกว่า ร้อยละ ๙๐ ๒.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.และแกนนำชุมชนมีความรู้และความสามารถในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มาฉีดวัคซีนตรงตามเกณฑ์/ตามนัด ๓.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนป้องกันโรคและนำบุตรมาฉีดวัคซีนให้ได้ครบตามเกณฑ์ ๔.เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น         2. ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้านการควบคุมพาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค         3. สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และโรงเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ มากกว่า ร้อยละ ๙๐ ๒.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.และแกนนำชุมชนมีความรู้และความสามารถในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มาฉีดวัคซีนตรงตามเกณฑ์/ตามนัด ๓.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนป้องกันโรคและนำบุตรมาฉีดวัคซีนให้ได้ครบตามเกณฑ์ ๔.เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
    ตัวชี้วัด : มากกว่าร้อยละ ๙๐ ของเด็กในพื้นที่ตำบลปากูได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ มากกว่า ร้อยละ ๙๐ ๒.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.และแกนนำชุมชนมีความรู้และความสามารถในการติดตามกลุ่มเป้าหมายให้มาฉีดวัคซีนตรงตามเกณฑ์/ตามนัด ๓.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนป้องกันโรคและนำบุตรมาฉีดวัคซีนให้ได้ครบตามเกณฑ์ ๔.เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กตำบลปากู สดใส ร่วมใจรับวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 61-L2988-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟารีดะ วาเลาะแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด