กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑ ”
ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรไอนีเด็นหะ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5258-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 เมษายน 2561 ถึง 27 เมษายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5258-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 เมษายน 2561 - 27 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพสังคมยังเต็มไปด้วยการระบาดของยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะระดมสรรพกำลังทั้งทางด้านงบประมาณ บุคลากร และวิธีการต่างๆมาดำเนินการ ก็เป็นเพียงการหยุดยั้งการระบาดของยาเสพติดได้ระยะหนึ่งเท่านั้น แต่ไม่สามารถเอากลุ่มเยาวชนอันเป็นกำลังของชาติหลุดพ้นจากยาเสพติดได้เสียที แนวทางแก้ไขปัญหาให้ได้ผลและเป็นที่ยอมรับของชุมชน ควรเป็นการดำเนินการที่สำคัญที่สุดคือการวางแผนป้องกันมิให้ยาเสพติดเข้าสู่ชุมชนและเยาวชนเป็นการดีที่สุด คือ ให้การศึกษาเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจต่อเยาวชน ซึ่งถือว่าเป็นคนรุ่นใหม่และเป็นกำลังของสังคมและของชาติในอนาคตอย่างต่อเนื่อง เวลาใดที่คนเสพยาเสพติดมักขาดสติสัมปชัญญะ ทำให้เกิดการกระทำในเรื่องต่างโดยขาดความระมัดระวัง อันนำสู่ปัญหาของชาติได้ในอนาคต การอบรมเยาวชนในช่วงปิดภาคการศึกษา เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถปลูกฝังเยาวชนให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และศึกษาเรียนรู้ในกิจกรรมระหว่างกัน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่งสังคมที่ใหญ่ขึ้นได้ และเพื่อวางแผนให้ได้รับการพัฒนาการอยู่ร่วมกันในกลุ่ม เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีได้ในอนาคต สภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโหนด เล็งเห็นถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชนในตำบล หากปล่อยเวลาว่างจภาพองต์การบริหารส่วนตำบลบ้านโหนดากการศึกษาโดยไม่มีกิจกรรมเรียนรู้ ก็อาจมีปัญหาได้ โดยเฉพาะปัญหายาเสพติด ดังนั้นสภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโหนด จึงขอเสนอโครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโหนด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และรู้จักสามัคคีทำงานเป็นกลุ่ม
  2. เพื่อให้เยาวชนนำความรู้ไปใช้และเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ในสังคม
  3. เพื่อสร้างให้เยาวชนให้มีคุณภาพและเป็นแกนนำที่ดีต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และรู้รักสามัคคีระหว่างหมู่บ้าน 2.เยาวชนสามารถนำความรู้ไปใช้และเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 3.เยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ระหว่างปิดภาคเรียน 4.เยาวชนมีคุณภาพและเป็นแกนนำที่ดีต่อองค์กรและชุมชนต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และรู้จักสามัคคีทำงานเป็นกลุ่ม
ตัวชี้วัด : มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมกันมากขึ้น
4.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนนำความรู้ไปใช้และเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ในสังคม
ตัวชี้วัด : เยาวชนสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดได้
50.00

 

3 เพื่อสร้างให้เยาวชนให้มีคุณภาพและเป็นแกนนำที่ดีต่อไป
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความกล้าแสดงออกมีภาวะผู้นำเพิ่มขึ้น
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และรู้จักสามัคคีทำงานเป็นกลุ่ม (2) เพื่อให้เยาวชนนำความรู้ไปใช้และเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ในสังคม (3) เพื่อสร้างให้เยาวชนให้มีคุณภาพและเป็นแกนนำที่ดีต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเยาวชนตำบลบ้านโหนดภาคฤดูร้อน ประจำปี ๒๕๖๑ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5258-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรไอนีเด็นหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด