กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

อาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพของเด็ก รวมทั้งพัฒนาการของเด็ก เด็กที่กินอาหารครบ 5 หมู่ และมีความหลากหลาย ในปริมาณที่พอเหมาะ จะมีการเจริญเติบโตดี การพัฒนาของสมองดี เด็กจะฉลาดเรียนรู้เร็ว มีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลทำให้พัฒนาการของเด็กเหมาะสมตามวัย และในเด็กที่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ย่อมมีผลทำให้การพัฒนาของสมองไม่ดี ไม่ฉลาด ไม่อยากเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว เป็นผลให้มีพัฒนาการไม่เหมาะสมตามวัย แม้เด็กจะได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ จะไม่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ หากยังไม่แก้ไขในเรื่องการขาดอาหารของเด็กเสียก่อน จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อ เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-6 ปี ในชุมชน เพื่อให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ผลการดำเนินโครงการพบว่า

กิจกรรมประเมินโภชนาการเด็ก 0-6 ปี ในชุมชน

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 เด็ก 0-6 ปี ได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ในพื้นที่ 12 หมู่บ้าน โดย อสม.แต่ละพื้นที่ พบว่าเด็กได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน 986 คน จากเด็ก 0-6 ปี ทั้งหมด 1,167 คน คิดเป็นร้อยละ 84.49 และพบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 268 ราย มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 100

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก 0-6 ปี แก่ผู้ปกครองเด้กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการเด็ก โดยใช้แบบประเมินความรู้ก่อน-หลัง การอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนการอบรมผู้ปกครองมีความรู้ร้อยละ 59 และหลังการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้้นร้อยละ 88 และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมกับเด็ก

กิจกรรมติดตามเด็กทุพโภชนาการ

ตัวชี้วัดกิจกรรม ร้อยละ 80 เด็ก 0-6 ปี มีรูปร่างดีสมส่วน ก่อนดำเนินกิจกรรมเด็ก 0-6 ปี สูงดี สมส่วน จำนวน 899 คน คิดเป็นร้อยละ 77.03 ซึ่งจะน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด หลังดำเนินกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก การสาธิตอาหารส่งเสริมโภชนาการตามวัย ตลอดจนติดตามเยี่ยมประเมินโภชนาการเด็กอย่างต่อเนื่อง ทุก 1 เดือน 3 ครั้ง พบว่า เด็กสูงดี สมส่วน เพิ่มขึ้น 988 คน คิดเป็นร้อยลละ 85.92

จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ปกครองเด็กต้องให้ความสำคัญ และตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพทั้งด้านร่างกายและสมองของเด็ก โดยผู้ปกครองจะต้องคอยประเมินทั้งการเจริญเติบโต และพฤติกรรมการบริโภคอาหารในแต่ละวันของเด็กอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง และเหมาะสมต่อไป

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. เด็ก 0-6 ปี บางรายไม่ได้รับการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงในชุมชน
  2. ผู้ปกครองเด็กบางรายไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมเอง เนื่องจากติดภารกิจ จึงส่งตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรม

  3. การติดตามเยี่ยมบ้านบางครั้งไม่พบเด็ก/ผู้ปกครอง

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ