กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดทำรูปเล่มรายงาน28 ธันวาคม 2561
28
ธันวาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำรูปเล่มรายงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้จัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กทุพโภชนาการ17 สิงหาคม 2561
17
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จนท./อสม. ร่วมติดตามเยี่ยมเด็กทุพโภชนาการในชุมชน เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโต ทุก 1 เดือน 3 ครั้ง

  2. ส่งพบแพทย์เฉพาะทาง รพ.ละงู ในรายที่พบความผิดปกติรุนแรง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็ก 0-6 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 268 คน ได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 66.05

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก 0-6 ปี7 สิงหาคม 2561
7
สิงหาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.บรรยาย เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก 0-6 ปี

  1. แนะนำเรื่องธงโภชนาการ

  2. สาธิตอาหารส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็ก 0-6 ปี

4.ฝึกปฏิบัติการจุดกราฟโภชนาการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ปกครองเด็ก 0-6 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการ โดยมีความรู้ ความเข้าใจ อยู่ในระดีบดี ร้อยละ 86.27

กิจกรรมที่ 1. ประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก 0-6 ปี ในชุมชน1 มีนาคม 2561
1
มีนาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง ในชุมชน โดย อสม.รับผิดชอบแต่ละพื้นที่

2.บันทึกผลน้ำหนัก ส่วนสูง ในสมุดสีชมพู ทะเบียน พร้อมแจ้งผู้ปกครอง

3.จัดทำทะเบียนเด็กทุพโภชนาการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เด็ก 0-6 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน 986 คน คิดเป็นร้อยละ 84.49

  2. เด็ก 0-6 ปี มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 268 คน มีพัฒนาการสมวัย 265 คน คิดเป็นร้อยละ 98.88