กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561 ”

ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61 - L3319 - 01 - 1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2561 ถึง 21 พฤษภาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61 - L3319 - 01 - 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2561 - 21 พฤษภาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทะเลน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 252 ในการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (2545-2564) และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุขการพัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับโดยต้องจัดบริการในชุมชนให้ครอบคลุม 4 มิติ รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยมีกระทรวงสาธารณสุข ทำหน้าที่นำนโยบายแผนงานและยุทธศาสตร์ไปขับเคลื่อนให้ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและบริการสาธารณะ ส่วนภาคประชาสังคมทำน้าที่เป็นกลไกลที่สำคัญในการดำเนินงานผู้สูงอายุในชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ         คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2550 เรื่อง นโยบายด้านการคุ้มครองสถานภาพผู้สูงอายุ โดยการขยายผลการดำเนินงานโครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน “ให้มีการขยายผลโครงการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน โดยกำหนดเป็นนโยบายด้านผู้สูงอายุ และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรหลัก ในการดำเนินงานร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในท้องถิ่น และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ” ซึ่งมีความมุ่งหมายให้ทุก อปท.มีผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อให้การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาทุกข์ยากเดือดร้อน และให้ระบบงาน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เป็นกลไกพื้นฐานของชุมชนที่จะมีบุคลากรด้านผู้สูงอายุของ อปท.         การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Community Care) ใช้แนวคิดชุมชนเป็นฐานการให้บริการดำเนินงานเพื่อชุมชน โดยชุมชน มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้เกิดการแก้ไขปัญหา โดยการส่งเสริมให้เกิดระบบงาน ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อเป็นกลไกในระดับชุมชนในการดูแลช่วยเหลือ คุ้มครอง ผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีผู้ดูแลซึ่งเป็นคนภายในชุมชนที่มีจิตอาสา จากเหตุผลดังกล่าวจะเห็นว่า การใช้ชุมชนเป็นฐานในการให้บริการที่มุ่งหวังให้ชุมชนสามารถดูแลกันเอง พึ่งตนเองได้ ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ต้องใช้ศักยภาพขององค์กรต่างๆและศักยภาพของประชาชน รวมทั้งทรัพยากรของชุมชนที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งในพื้นที่ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงได้มีการดำเนินการมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง และมีการดำเนินการขยายผลในพื้นที่ต่างๆ เพิ่มขึ้นตลอดทุกปีที่ผ่านมา ซึ่งกลุ่มเป้าหมายในการดูแลปีนี้ เน้นการดูแลให้ครบทุกพื้นที่ ในเครือข่ายของอำเภอควนขนุน เพื่อเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุนและโรงพยาบาลควนขนุนและเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีเป้าหมายเพิ่มคือ เทศบาลตำบลโตนดด้วน ,เทศบาลตำบลแพรกหา, เทศบาลตำบลนาขยาด, เทศบาลตำบลทะเลน้อย, เทศบาลตำบลหนองพ้อ, เทศบาลตำบลแหลมโตนด และเทศบาลตำบลดอนทราย ได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมทฤษฎี ฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  2. พื้นที่ ผ่านการประเมินการดำเนินงาน ตำบล LTC

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : มีการอบรมผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) ไปบริหารจัดการผู้สูงอายุในชุมชนที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
10.00

 

2 2. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ตัวชี้วัด : พื้นที่ผ่านการประเมินการดำเนินงานตำบล LTC
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมทฤษฎี ฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง หลักสูตร 70 ชั่วโมง ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61 - L3319 - 01 - 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด