กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กรกฎาคม 2560 ถึง 28 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กรกฎาคม 2560 - 28 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,833.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุพโภชนาการ หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารผิดเบี่ยงเบนไปจากปกติ อาจเกิดจากได้รับสาร อาหารน้อยกว่าปกติ หรือเหตุทุติยภูมิ คือ เหตุเนื่องจากความบกพร่อง ต่างจากการกิน การย่อย การดูดซึม ในระยะ ๒ - ๓ ปี แรกของชีวิต จะมีผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและการเรียน ภายหลัง เนื่องจากเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตของสมองสูงสุด ชึ่งระยะเวลาที่วิกฤติต่อพัฒนาการทางร่างกายของวัยเด็กมากที่สุดนั้น ตรงกับช่วง 3 เดือนหลัง การตั้งครรภ์จนถึงอายุ ๑๘ - ๒๔ เดือนหลังคลอด เป็นระยะที่มีการสร้างปลอกหุ้มเส้นประสาทของระบบประสาท และมีการ แบ่งตัวของเซลล์ประสาทมากที่สุด เมื่ออายุ ๓ ปี มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต ถึงร้อยละ ๘๐ สำหรับผลกระทบทางร่างกายภายนอกที่มองเห็นได้ คือ เด็กจะมีรูปร่างเตี้ย เล็ก ซูบผอม ผิวหนังเหี่ยวย่น เนื่องจากขาดไขมันชั้นผิวหนัง นอกจากนี้อวัยวะภายในต่างๆ ก็ได้รับผล กระทบเช่นกัน เด็กทุกคนอยากมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วยซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะ ทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหารหรือถ้ากินอาหารมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุขอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญในกลุ่มเด็กโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีนภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลงการให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องและจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมในเขตพื้นที่ตำบลดุซงญอจะพบว่าในช่วงไตรมาสที่ผ่านมามีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์5คนจากเด็กทั้งหมด42คน คิดเป็นร้อยละ11.90น้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์6คนคิดเป็นร้อยละ 11.30ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ 7และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
จากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (3 – 4 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมตำบลดุซงญอที่ผ่านมาพบว่าเด็กก่อนวัยเรียนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 11.90มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ ๑๐ซึ่งเด็กในวัยดังกล่าวกำลังมีการเจริญเติบโตของสมองสารอาหารโปรตีนมีความสำคัญต่อการพัฒนาด้านสมองหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาจะส่งผล กระทบต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาของเด็กซึ่งจะเป็นกำลังของประเทศชาติในอนาคตสาเหตุของปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความรู้ด้านโภชนศึกษาของผู้ปกครอง เป็นผลให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนและมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ในการดำเนินการที่ผ่านมาครูผู้ดูแลเด็กพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่สาธารรณสุขได้มีการติดตาม ออกเยี่ยมให้ความรู้ผู้ปกครองแต่การเรียนรู้อย่างเป็นระบบเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญและจำเป็น ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงมีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัยเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในกลุ่มเด็กวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยก่อนเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  3. 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กอายุ3 – 4 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กอายุ 3 – 4ปีมีโภชนาการและมีน้ำหนักต่ออายุตามเกณฑ์ที่กำหนดพร้อมทั้งมีพัฒนาการที่ดีขึ้น
    2. เด็กได้รับการเฝ้าระวังและติดตามผลที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
    3. ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย
    4. ผู้ปกครองของเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กอายุ3 – 4 ปี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กอายุ 3-4 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
    2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 3-4 ปี มากขึ้น
    3. ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก ทุก ๆ 3 เดือนในเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติ และทุก 1 เดือนในเด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์
    4. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุก ๆ 1 เดือน
    5. ดำเนินการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในเด็กอายุ 3-4 ปี

     

    53 53

    2. ค่าจัดทำป้ายไวนิล

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กอายุ 3-4 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
    2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 3-4 ปี มากขึ้น
    3. ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก ทุก ๆ 3 เดือนในเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติ และทุก 1 เดือนในเด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์
    4. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุก ๆ 1 เดือน
    5. ดำเนินการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในเด็กอายุ 3-4 ปี

     

    0 53

    3. ค่าวัสดุในการอบรม

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กอายุ 3-4 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
    2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 3-4 ปี มากขึ้น
    3. ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก ทุก ๆ 3 เดือนในเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติ และทุก 1 เดือนในเด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์
    4. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุก ๆ 1 เดือน
    5. ดำเนินการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในเด็กอายุ 3-4 ปี

     

    53 53

    4. ค่าตอบแนวิทยากร

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กอายุ 3-4 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
    2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 3-4 ปี มากขึ้น
    3. ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก ทุก ๆ 3 เดือนในเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติ และทุก 1 เดือนในเด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์
    4. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุก ๆ 1 เดือน
    5. ดำเนินการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในเด็กอายุ 3-4 ปี

     

    0 53

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กอายุ 3-4 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
    2. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 3-4 ปี มากขึ้น
    3. ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก ทุก ๆ 3 เดือนในเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติ และทุก 1 เดือนในเด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้อยกว่าเกณฑ์
    4. ติดตามภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุก ๆ 1 เดือน
    5. ดำเนินการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในเด็กอายุ 3-4 ปี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในกลุ่มเด็กวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กอายุ 3 – 4ปีมีโภชนาการและมีน้ำหนักต่ออายุตามเกณฑ์ที่กำหนดพร้อมทั้งมีพัฒนาการที่ดีขึ้น

     

    2 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยก่อนเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    ตัวชี้วัด : 2.เด็กได้รับการเฝ้าระวังและติดตามผลที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ

     

    3 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กอายุ3 – 4 ปี
    ตัวชี้วัด : 3.ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในกลุ่มเด็กวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยก่อนเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กอายุ3 – 4 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด