กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย
รหัสโครงการ 61-l2490-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อบต.กะลุวอ
วันที่อนุมัติ 15 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 19,410.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ มารีนา มะกะจิ
พี่เลี้ยงโครงการ นายหรูนเพ็งโอ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.342,101.874place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 22 มี.ค. 2561 22 ก.ค. 2561 19,410.00
รวมงบประมาณ 19,410.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 77 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของกิจกรรมในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
20.00
2 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
20.00
3 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยตำบลกะลุวอมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน2แห่งคือศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิด รูแตบาตู (รอตันบาตู)มีจำนวนนักเรียนจำนวน๕๖คนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกูแบสาลอมีจำนวนนักเรียน21คนเป็นศูนย์การเรียนรู้ก่อนปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กเล็กในด้านการเตรียมความพร้อมด้านร่างกายอารมณ์สังคมสติปัญญา เนื่องจากรายงานทางวิชาการพบว่ากลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า๕ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำมักเกิดจากปัจจัยด้านแวดล้อมเช่นการไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำเพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำการจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็กและการที่ผู้ปกครองผู้ดูแลเด็กและไม่มีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลผิดวิธีเป็นต้นดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการอบรมเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กเพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองได้มีความรู้เรื่องแหล่งน้ำเสี่ยงและสอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงโดยเน้น “ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม”และการตะโกนขอความช่วยเหลือและได้ฝึกปฏิบัติจากสถานทีจริงจึงได้จัดโครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ความรู้เพิ่มทักษะด้านการป้องกันเด็กจมน้ำร่วมกับผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็ก สามารถทำกิจกรรมร่วมอย่างสนุกสนาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ร้อยละของกิจกรรมในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

80.00
2 เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง

เด็กมีสุขภาพร่างกายมี่สมบูรณ์ เเข็งเเรง

70.00
3 เพื่อฝึกพัฒนาทักษะทางด้านกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และมีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลที่เหมาะสม

ผู้ปกครอง ครูผู้ดูเเล เเละเด็กเล็กมีพัฒนาทักษะทางด้านกระบวนการคิด การเเก้ปัญหา เเละมีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลที่เหมาะสม

70.00
4 เพื่อฝึกให้เด็ก ผู้ดูเเล เเละผู้ปกครองได้ฝึกปฏิบัติจริง

เด็ก ผู้ดูเเล เเละผู้ปกครองได้ฝึกปฏิบัติจริง

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๔.๑เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๔.๒ดำเนินการตามโครงการ -ให้ความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลที่เหมาะสม -และฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง ๔.๓ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ๔.๔รายงานการดำเนินงานของโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๘.๑เด็กได้รับพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ๘.2เด็กมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง
๘.3ผู้ปกครองครูผู้ดูแลเด็กและเด็กเล็กมีพัฒนาทักษะทางด้านกระบวนการคิด การแก้ปัญหา และมีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลที่เหมาะสมเบื้องต้น ๘.4เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองได้ฝึกปฏิบัติจริง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 เม.ย. 2561 11:01 น.