กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันลูกรักปลอดภัยห่างไกลโรคร้าย ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุไฮนีแวกุโน

ชื่อโครงการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันลูกรักปลอดภัยห่างไกลโรคร้าย

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3068-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เสริมสร้างภูมิคุ้มกันลูกรักปลอดภัยห่างไกลโรคร้าย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันลูกรักปลอดภัยห่างไกลโรคร้าย



บทคัดย่อ

โครงการ " เสริมสร้างภูมิคุ้มกันลูกรักปลอดภัยห่างไกลโรคร้าย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3068-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีนเช่นฉีดลึก หรือตื้นเกินไป เป็นต้น จากการดำเนินงานที่ผ่านมาการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่ มีน้อยมากที่จะมีความรู้ความเข้าใจและเห็นถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนของเด็ก 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียน เด็กวัยเรียนสืบเนื่องมาจากความกลัวบุตรหลานเป็นไข้ มีอาการบวมหรือแดงบริเวณที่ฉีดยา ทำให้เด็กไม่สามารถเดินได้ปกติ และประกอบกับกระทรวงสาธารณสุขตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมและป้องกันโรคให้กับประชาชน ซึ่งจังหวัดปัตตานีถือว่าเป็นนโยบายเมืองไทยแข็งแรง
ดังนั้นรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวาจึงเล็งเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจึงได้จัดทำโครงการเสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกรัก ปลอดภัยห่างไกลโรคเพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินพัฒนาการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
  2. 2.เพื่อให้เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักร้อยละ 100 และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10
  3. 3.เพื่อสื่อสารสังคมให้เด็กวัยเรียนและโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ3เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนเป้าหมายครบตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ90
  4. 4 เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินตรวจสุขภาพช่องฟันไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
  5. 5 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลบุตรได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี เช่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลสุขภาพร่างกาย อาหารที่เหมาะสมตามอายุ ภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามเกณฑ์ที่เข้ารับการอบรม จำนวน 177 คน กิจกรรมที่ ๒ จัดปร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 177
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพเด็กให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย เช่น การดูแลสุขภาพร่างกาย เพื่อให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ การดูแลให้เด็กได้รับอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบ 3 หมู่ การชั่งน้ำหนักตามงวด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ การฉีดวัคซีนเป้าหมายตามเกณฑ์และการส่งเสริมด้านสุขภาพจิต เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี เช่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลสุขภาพร่างกาย อาหารที่เหมาะสมตามอายุ ภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามเกณฑ์ที่เข้ารับการอบรม จำนวน 177 คน กิจกรรมที่ ๒ จัดปร

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขทุกคนเพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขชี้แจงแก่บิดามารดาหรือผู้ปกครองเกี่ยวกับการรับสมัครเด็กอายุ0-5 ปี เพื่อเข้าร่วมประกวดสุขภาพเด็กดี
  3. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี เช่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลสุขภาพร่างกาย อาหารที่เหมาะสมตามอายุ ภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามเกณฑ์
  4. ประกวดเด็กสุขภาพดี โดยการตรวจร่างกายและตรวจสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี ทุกคนที่เข้าร่วมประกวดสุขภาพ
  5. ประเมินภาวะสุขภาพ เพื่อให้คะแนนตามเกณฑ์การประกวดและมอบรางวัล สำหรับเด็กที่มีสุขภาพดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพเด็กให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย เช่น การดูแลสุขภาพร่างกาย เพื่อให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ การดูแลให้เด็กได้รับอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบ 3 หมู่ การชั่งน้ำหนักตามงวด เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ การฉีดวัคซีนเป้าหมายตามเกณฑ์และการส่งเสริมด้านสุขภาพจิต เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกาย

 

177 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินพัฒนาการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินพัฒนาการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 2.เพื่อให้เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักร้อยละ 100 และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักร้อยละ 100 และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

3 3.เพื่อสื่อสารสังคมให้เด็กวัยเรียนและโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ3เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนเป้าหมายครบตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ90
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนเป้าหมายครบตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ90
0.00

 

4 4 เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินตรวจสุขภาพช่องฟันไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินตรวจสุขภาพช่องฟันไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
0.00

 

5 5 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลบุตรได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลบุตรได้อย่างเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 177
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 177
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินพัฒนาการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 (2) 2.เพื่อให้เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักร้อยละ 100 และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10 (3) 3.เพื่อสื่อสารสังคมให้เด็กวัยเรียนและโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ3เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนเป้าหมายครบตามเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ90 (4) 4  เพื่อให้เด็กได้รับการประเมินตรวจสุขภาพช่องฟันไม่ต่ำกว่าร้อยละ  90 (5) 5 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี  มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลบุตรได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับการส่งเสริมและดูแลสุขภาพเด็กอายุ 0-5 ปี เช่น การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การดูแลสุขภาพร่างกาย อาหารที่เหมาะสมตามอายุ ภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามเกณฑ์ที่เข้ารับการอบรม จำนวน 177  คน กิจกรรมที่ ๒  จัดปร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เสริมสร้างภูมิคุ้มกันลูกรักปลอดภัยห่างไกลโรคร้าย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3068-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุไฮนีแวกุโน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด