กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลโคกหล่อ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1490-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มกราคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1490-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มกราคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

....................หากจะพูดถึงโรคที่มียุงเป็นพาหะ หลายคนคงนึกถึงโรคไข้เลือดออกขึ้นมาเป็นอันดับต้นๆ แต่ปัจจุบันมีโรคอื่นๆ อีกมากที่เมื่อก่อนแทบไม่เคยได้ยินชื่อ แต่กลับก่อให้เกิดการระบาดในหลายประเทศ ไวรัสซิกา (Zika) ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัด ไวรัสที่ใครๆ ต้องถามชื่อซ้ำอีกครั้งชนิดนี้แทบจะไม่เคยมีบทบาทในประเทศไทย แต่กลับเป็นเชื้อที่ทั่วโลกกำลังเฝ้าระวัง ไวรัสชนิดนี้กำลังระบาดอย่างหนักในแถบประเทศอเมริกาใต้ รวมถึงหมู่เกาะแปซิฟิกและ Cape Verde ในแอฟริกา จากรายงานขององค์การอนามัยโรคภูมิภาคอเมริกา (Pan Americans Health Organization; PAHO) พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไข้ซิกาแล้วใน 20 ประเทศ ดังนี้ บาร์เบโดส โบลิเวีย บราซิล โคลอมเบีย เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ เฟรนซ์เกียนา กัวเดอลุป กัวเตมาลา กายอานา เฮติ ฮอนดูรัส เกาะมาร์ตีนิก เม็กซิโก ปานามา ปารากวัย เปอร์โตริโก ซูรินาเม เกาะเซนต์มาร์ติน และเวเนซูเอลา

...................ไวรัสซิกาจัดเป็นไวรัสที่มีรหัสพันธุกรรมเป็นอาร์เอ็นเอ (RNA) สายเดี่ยว อยู่ในตระกูล Flavivirus เช่นเดียวกับไวรัสเดงกี่ (Dengue virus) ที่ก่อให้เกิดไข้เลือดออก และไวรัส Japanese encephalitis ที่ก่อโรคไข้สมองอักเสบ ส่วนชื่อซิกา (Zika) เป็นชื่อป่าในประเทศยูกันดาซึ่งเป็นสถานที่แรกที่แยกเชื้อได้จากลิง Rhesus ที่ทำมาศึกษาในปีพ.ศ. 2490 การระบาดของไวรัสชนิดนี้มียุง Aedes aegypti เป็นพาหะ ซึ่งเป็นยุงลายบ้านในประเทศเขตร้อนและเป็นยุงที่เป็นพาหะของไวรัสไข้เลือดออกด้วย สำหรับประเทศไทยมีรายงานว่า พบผู้ป่วยติดเชื้อโรคไวรัสซิกกาในปี 2559ซึ่งแสดงอาการภายหลังได้รับเชื้อนี้ 4-7 วัน อาการแสดงทั่วไป ได้แก่ ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ปวดข้อ ซึ่งมักมีอาการเหล่านี้อยู่ประมาณ 2-7 วัน ส่วนใหญ่อาการเหล่านี้จะหายเองได้ภายในหนึ่งสัปดาห์ ไม่มีความจำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล แต่ในหญิงตั้งครรภ์จำเป็นต้องดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการติดเชื้อนี้อาจส่งผลต่อทารกในครรภ์ทำให้มีความเสี่ยงต่อการพิการแต่กำเนิด มีขนาดศีรษะที่เล็กผิดปกติ (microcephaly) หรือเสียชีวิตได้ การที่อาการแสดงเบื้องต้นของไข้ซิกาถึงแม้จะความรุนแรงน้อยกว่า แต่ก็มีความคล้ายคลึงกับไข้เลือดออก อีกทั้งยังมีสาเหตุจากเชื้อไวรัสในกลุ่มเดียวกัน ทำให้เกิดความสับสนขึ้นได้ จึงต้องมีการให้นิยามเพื่อความชัดเจน โดยผู้ป่วยสงสัย หมายถึงผู้ป่วยที่มีไข้และมีอาการอย่างน้อย 2 ใน 3 อาการ ดังนี้ 1) ออกผื่น 2) ปวดข้อ และ 3) ตาแดง และผลการตรวจไวรัสเดงกี ไวรัสชิคุนกุนยาโดยวิธี PCR และไวรัสหัด ไวรัสหัดเยอรมัน โดยวิธี ELISA IgM ให้ผลลบ และผู้ป่วยยืนยัน หมายถึงผู้ป่วยสงสัย และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันพบเชื้อไวรัสซิกาในเลือด หรือตรวจพบภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อไวรัสซิกา อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนเฉพาะสำหรับป้องกันโรคดังกล่าว จึงมีคำแนะนำให้เลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศกลุ่มเสี่ยง และดูแลจัดการไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายภายในที่พักอาศัย ยุงชนิดนี้เป็นยุงหากินกลางวันจึงต้องระวังการถูกกัด ระวังการแพร่กระจายเชื้อไปยังผู้อื่นจากการถูกยุงกัดในช่วงที่ติดเชื้อด้วย

...................ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนได้มีความตื่นตัวในการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะนำโรค กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกหล่อจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค(โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคไวรัสซิกา )ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. รณรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายจากโรคที่เกิดจากยุงลาย
  2. 2. เพื่อลดการเกิด และการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายในหมู่บ้าน 3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกโรคไข้ปวดข้อยุงลายและโรคไวรัสซิกกา ไม่เกิน 50 / แสนประชากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายของประชาชนและเด็กนักเรียนในเขตเทศบาลตำบลโคกหล่อ

    2.ประชาชนตลอดจนหน่วยงานเห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโรคที่เกิดจากยุงลาย

    3.เพื่อรณรณรงค์ให้ผู้นำชุมชน / ประชาชน/ นักเรียนมีความรู้ตลอดจนตระหนักถึงภัยที่เกิดจากยุงลายรวมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขโรคที่เกิดจากยุงลาย

    4.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกโรคไข้ปวดข้อยุงลายและโรคไวรัสซิกกา ไม่เกิน 50 / แสนประชากร


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รถแห่ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่องยุงลาย

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนได้รับความรู้จากการรณรงค์รถแห่ให้ความรู้แก่ประชาชน

     

    0 0

    2. ป้ายรณรงค์ให้ความรู้เรื่องการกำจัดยุงลาย

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดป้ายรณรงค์ให้ความรู้เรื่องการกำจัดยุงลายด้วยมาตรการ  3 เก็บ 3 โรค  ติดตั้งเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

     

    0 0

    3. รณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายจากโรคที่เกิดจากยุงลาย, ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำสปอร์ตในการรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชน  โดยมาตรการ  3 เก็บ  3 โรค

     

    0 0

    4. เบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่มสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมเดินรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในเขตตำบลโคกหล่อ  มีอาหารว่างและน้ำดื่มในการเดินรณรงค์

     

    200 200

    5. แจกจ่ายเอกสารรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายจากโรคที่เกิดจากยุงลาย, ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แจกจ่ายเอกสารรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายจากโรคที่เกิดจากยุงลาย, ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ประชาชนในเขตตำบลโคกหล่อ  ได้รับความรู้  ความเข้าใจ  ในมาตรการ  3 เก็บ 3 โรค  ซึ่งช่วยในการลดปริมาณของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายได้  เกิดความร่วมมือภาคีเครือข่ายหน่วยงานราชการ  และเอกชน  ช่วยในการดำเนินโครงการให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย  และบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. รณรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายจากโรคที่เกิดจากยุงลาย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อลดการเกิด และการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายในหมู่บ้าน 3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกโรคไข้ปวดข้อยุงลายและโรคไวรัสซิกกา ไม่เกิน 50 / แสนประชากร
    ตัวชี้วัด : 1.มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ไม่เกินอัตรา 50 แสนประชากร 2.เกิดความร่วมมือระหว่างชุมชน หน่วยงานราชการ และองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. รณรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายจากโรคที่เกิดจากยุงลาย (2) 2. เพื่อลดการเกิด และการระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายในหมู่บ้าน 3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกโรคไข้ปวดข้อยุงลายและโรคไวรัสซิกกา ไม่เกิน 50 / แสนประชากร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์กำจัดยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ 3 โรค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1490-5-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลโคกหล่อ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด