กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเดด็ก ”
ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสุชาดาหมื่่นศรีแกม




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเดด็ก

ที่อยู่ ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเดด็ก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเดด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเดด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,060.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศุูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบางดีได้ตระหนักเล็งเห็นถึงความสำคัญของภาวะโภชนาการ อาหารปลอดภัยและสุขภาพตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพและส่งเสริมทักษะสู่พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบางดี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเด็ก เพื่อขรรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บางดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการที่ดีของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบางดี
  2. เพื่อส่งเสริมการเกษตรปลอดสารเคมีโดยการปลูกผักกินเอง
  3. เพื่อสร้างเสริมให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ฝึกทักษะการทำกิจกรรมนำไปสู่พัฒนาการทำกิจกรรมนำไปสู่พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
  4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  5. เพื่อส่งเสิรมพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้มื่อกลางวันของเด็กในศูนย์
  6. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ในการบริโภคผักที่ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสำรวจตรวจสารพิษตกค้างในผักผลไม้มื่อกลางวันของ ศพด.ต.บางดี
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างปลอดภัยสำหรับเด็กและครอบครัวและการปลูกผักกินเองในครอบครัว
  3. กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษของเด็กใน ศพด.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 240
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กได้บริโภคผักมื้อกลางวันที่ปลอดภัยรับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายถูกหลักโภชนาการ 2.เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยเป็นเด็กช่างสังเกต มีความอดทน มีความรับผิดชอบและใฝ่รู้ 3.เด็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการร่างกายผ่านเกณฑ์ตามวัย 4.มีพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้มื้อกลางวันเพิ่มขึ้น 5.ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ในการบริโภคผักที่ปลอดภัย 6.นำความรู้และทักษะประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักการใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสำรวจตรวจสารพิษตกค้างในผักผลไม้มื่อกลางวันของ ศพด.ต.บางดี

วันที่ 9 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจสารพิษตกค้างในผักผลไม้มื้่อกลางวันของ ศพด.ต.บางดี 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการตรวจผักกาดกวางตุ้ง ผักกาดขาว และผักบุ้ง มีค่า/สารพิษตกค้างไม่ปลอดภัย ถูกยับยั้ง 15% ได้แนะนำผู้ประกอบการรับจ้างทำอาหารซื้อผักที่ปลอดภัย เพื่อความปลอดภัยของเด็กให้มากที่สุด ก่อนที่จะมีผลผลิตซึ่งเป็นผักจากกิจกรรมปลูกผักกินเองของ ศพด.

 

240 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างปลอดภัยสำหรับเด็กและครอบครัวและการปลูกผักกินเองในครอบครัว

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการบริโภคอาหารอย่างปลอดภัยสำหรับเด็กและครอบครัวและการปลุูกผักกินเองในครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองจำนวน 221 คน เข้าร่วมการอบรม จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 79 ผลการประเมิน ผุู้ปกครองไ้ดรับความรู้เพิ่มมากขึ้นร้อยละ 12.75 และสามารถนำความรู้ไปปรับปรุงในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี ผลจากการสำรวจของผู้ปกครองและเด็กต่่อยอดประยุกต์ปลูกผักที่บ้าน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 11 ผักที่ผู้ปกครองและเด็กปลูกที่บ้าน คือผักบุ้ง ผักกาดกวางตุ้ง ผักกาดขาว ฟักเขียว 

 

240 0

3. กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษของเด็กใน ศพด.

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดตารางกิจกรรมการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของเด็กแต่ละวัย แต่ละสัปดาห์ได้ทำกิจกรรมหมุนเวียนกันอย่างต่อเนื่อง ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม และได้นำปุ๋ยคอกมาช่วยปรับสภาพดินก่อนปลูกผัก เด็กได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักที่ปลอดภัยและได้ลงมือปฏิบัติจริง ตามขั้นตอนการทำแปลงผัก ใส่ปุ๋ย พรวนดิน รดน้ำ เฝ้าดูแลรักษาและสังเกตผักแต่ชนิดที่ปลูกให้เจริญเติบโตจนเก็บนำมาประกอบอาหารได้ เด็กรู้จักสังเกต มีความอดทน มีความสุขสนุกสนานกับการปฏิบัติกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการสำรวจความพึงพอใจเด็กและผูู้ปกครอง จำนวน 221 คน มีการตอบรับต่อกิจกรรมโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเด็กที่ดีและเกิดประโยชน์ต่อเด็กและผู้ปกครองเป็นอย่างยิ่ง มีความภูมิใจที่ได้รับประทานอาหารเมนูผักต่าง ๆ ที่ปลูกด้วยตนเองโดยไม่เหลือทิ้ง และผู้ปกครองบอกว่าเด็กอยู่บ้านก็กินผักเก่งขึ้นหลังทำกิจกรรม

 

240 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการที่ดีของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบางดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการเกษตรปลอดสารเคมีโดยการปลูกผักกินเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างเสริมให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ฝึกทักษะการทำกิจกรรมนำไปสู่พัฒนาการทำกิจกรรมนำไปสู่พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อส่งเสิรมพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้มื่อกลางวันของเด็กในศูนย์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ในการบริโภคผักที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 240
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการที่ดีของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบางดี (2) เพื่อส่งเสริมการเกษตรปลอดสารเคมีโดยการปลูกผักกินเอง (3) เพื่อสร้างเสริมให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ฝึกทักษะการทำกิจกรรมนำไปสู่พัฒนาการทำกิจกรรมนำไปสู่พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย (4) เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (5) เพื่อส่งเสิรมพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้มื่อกลางวันของเด็กในศูนย์ (6) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ในการบริโภคผักที่ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจตรวจสารพิษตกค้างในผักผลไม้มื่อกลางวันของ ศพด.ต.บางดี (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารอย่างปลอดภัยสำหรับเด็กและครอบครัวและการปลูกผักกินเองในครอบครัว (3) กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษของเด็กใน ศพด.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสู่พลานามัยที่สมบูรณ์เพิ่มพูนพัฒนาการเดด็ก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุชาดาหมื่่นศรีแกม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด