กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยการละเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
รหัสโครงการ 61-L5187-03-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลสะพานไม้แก่น
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 4,538.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลสะพานไม้แก่น
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด หลีขาหรี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.826,100.783place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 146 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียน ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
90.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพ เป็นสิ่งจำเป็นและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพของประชากรในอนาคต ดดยเฉพาะเด็กอายุ ตั้งแต่ 0 - 6 ขวบ เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายอย่างรวดเร็ว หากได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้อง สำหรับเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง - 4 ปี เป้นช่วงวัยที่สามารถรับการศึกษาในระดับปฐมวัย เพื่อเป็นการเตียมความพร้อมให้กับเด็กในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลสะพานไม้แก่น เห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรมเด็กเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในทุกด้าน การให้เด็กได้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น และเห็นความสำคัญของการละเล่นพื้นบ้านที่นอกจากจะทำให้เกิดสนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังจะช่วยให้เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายให้อวัยวะต่างๆได้ออกกำลัง และเป็นการช่วยปลูกผังคุณธรรมและจริยธรรม จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยการละเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กก่อนวัยเรียน
  1. นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดตำบลสะพานไม้แก่น จำนวน 146 คน มีพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นพื้นบ้านเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม
  2. ผู้ปกครองนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดตำบลสะพานไม้แก่น จำนวน 146 คน มีความรู้ ความเข้าใจ และความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดตำบลสะพานไม้แก่น จำนวน 146 คน รู้จักและเล่นการละเล่นพื้นบ้านท้องถิ่นของตน ทำให้เกิดความรักภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและช่วยกันอนุรักษ์ไว้
90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 4,538.00 1 3,925.00
15 พ.ค. 61 ประชุมผู้ปกครองเพื่อให้ความรู้ในการใช้กิจกรรมทางกาย 0 4,538.00 3,925.00
  • ประชุมคณะกรรมการการดำเนินงานเพื่อหารือแนวทางการดำเนินโครงการ
  • เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  • ดำเนินการตามโครงการ
    • จัดประชุมให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่อง การใช้กิจกรรมทางกายในการส่งเสริมพัฒนาเด็กเล็ก
    • ประชุมครูผู้ดูแลเด็กในการจัดทำแผนประสบการณ์การเรียนรู้โดยเพิ่มกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน
    • การจัดกิจกรรมทางกายให้กับเด็กโดยการละเล่นพื้นบ้านในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในแต่ละวัน
  • สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • เด็กมีการพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นพื้นบ้านเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม
  • ผู้ปกครองของเด็กได้มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  • เด็กได้รู้จักการละเล่นพื้นบ้าน ทำให้เกิดความรัก ความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 เม.ย. 2561 16:01 น.