กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง


“ โครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย ”

ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ สุวรรณบรรดิษ

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย

ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 - L5191 - 3 - 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61 - L5191 - 3 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยทำให้อัตราการเกิดน้อยลงประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้น ซึ่งมีการคาดการณ์ว่า ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ : Aged Society) จากปัญหาดังกล่าวทำให้แนวโน้มผู้สูงอายุในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยร้อยละ ๙๕ ของผู้สูงอายุมีความเจ็บป่วยด้วยโรคอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เข่าเสื่อม โรคซึมเศร้า และทุพพลภาพติดเตียง ขณะที่มีเพียงร้อยละ ๕ เท่านั้นที่ไม่เป็นโรค และผู้สูงอายุเข้าถึงระบบบริการสุขภาพเพียงร้อยละ ๕๖ รัฐบาลให้ความสำคัญกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่องโดยพบว่าประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นจาก๔ล้านคน (ร้อยละ(๖.๘ ) ในปี๒๕๓๗เป็น๑๐ล้านคน
(ร้อยละ๑๔.๙ ) ในปี๒๕๕๗ และคาดว่าจะเพิ่มเป็น 20.5 ล้านคน(ร้อยละ 32.1) ในปี 2583 และในปี 2558 กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 6,394,022 คนพบว่าเป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 79 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้านติดเตียงจำเป็นต้องสนับสนุนบริการด้านสุขภาพและสังคมร้อยละ 21 ในปี 2559 รัฐบาลได้มุ่งเน้นในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทั้งกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงโดยมีเป้าหมายสำคัญคือทำอย่างไรจะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงมีการเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงและทำอย่างไรผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม โดยทีมสหวิชาชีพในระดับปฐมภูมิซึ่งจัดบริการดูแลด้านสุขภาพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหาสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและท้องถิ่นส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปดมีผู้สูงอายุ จำนวน 403คนพบว่าเป็นผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 383 ร้อยละ 95.04 และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้าน จำนวน 17 คนร้อยละ 4.22 ติดเตียง จำนวน 3 คน ร้อยละ 0.74 ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกขมรมผู้สูงอายุ จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 37.22 เพื่อเป็นการรองรับสังคมผู้สูงอายุ การพัฒนาระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวและผู้สูงอายุที่ต้องการการพึ่งพิงจึงเป็นสิ่งสำคัญเร่งด่วนโดยกำหนดกลไกที่สำคัญคือการจัดตั้งตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC)ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญคือจะต้องมีข้อมูลผู้สูงอายุเพื่อวางแผนการดูแลช่วยเหลือ มีผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีชมรมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ มีการเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงที่บ้านโดยทีมชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน 100%เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้า เท่าเทียม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด จึงได้จัดทำโครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย ขึ้นเพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเน้นการดำเนินงานแบบครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ ดังนั้นปี 2561 ตั้งเป้าหมายให้ผู้สูงอายุในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นสมาชิกชมรมฯ มากกว่า 50%

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
  2. เพื่อพัฒนารูปแบบการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
  3. เพื่อส่งเสริมให้มีกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมทางศาสนา
  2. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
  3. จัดกิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านในผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดยชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.ตาแปด ไม่ทอดทิ้งกัน
  4. จัดกิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านในผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวระดับตำบล
  2. เกิดรูปแบบการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
  3. สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน
  4. ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด มีการดำเนินกิจกรรมสืบสารประเพณีวัฒนาธรรมในวันสำคัญคือ วันขึ้นปีใหม่ วันสงกานต์ วันฮารีรายอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการมีเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวระดับตำบล
100.00

 

2 เพื่อพัฒนารูปแบบการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการเกิดรูปแบบการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้มีกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด
ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปดมีการดำเนินกิจกรรมสืบสารประเพณีวัฒนาธรรมในวันสำคัญคือ วันขึ้นปีใหม่ วันสงกานต์ วันฮารีรายอ
100.00

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม (3) เพื่อส่งเสริมให้มีกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแปด (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมทางศาสนา (2) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว  (3) จัดกิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านในผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดยชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.ตาแปด ไม่ทอดทิ้งกัน (4) จัดกิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านในผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดยชมรมผู้สูงอายุไม่ทอดทิ้งกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใย ใส่ใจ ดูแล ผู้สูงวัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61 - L5191 - 3 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ สุวรรณบรรดิษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด