โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายอาด เตาวาโต
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5290-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5290-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องตายทุกคนซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัขแมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายของสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้และสัตว์ที่เป็นโรคก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มี.ค. – มิ.ย. ของทุกปีโรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยงเช่น สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าถูกสัตว์กัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลและไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที
จังหวัดสตูล ได้ประกาศกำหนดเขตเฝ้าระวังโรคระบาดชนิดโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่จังหวัดสตูล จำนวน ๒๘ หมู่บ้าน ๑๐ ตำบล ๕ อำเภอ ซึ่งเป็นอำเภอที่มีพื้นที่ติดต่อกับอำเภอท่าแพ
ดังนั้นการดำเนินงานรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชนในเรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจึงเป็นกิจกรรมที่สามารถกระตุ้นให้ประชาชนที่มี สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่มีอยู่ในความดูแลหันมาตระหนักถึงปัญหาของโรคดังกล่าว ด้วยการที่มีความรู้ที่ถูกต้องและมารับบริการการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสัตว์เลี้ยงของตนจากการออกบริการของเจ้าหน้าที่จากกรมปศุสัตว์ซึ่งจะมีผลทำให้ลดอัตราการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนที่รัก สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ลดความเสี่ยงของการถูก สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้และมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า
- 2. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน
- 3. ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่ นำโดย สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- 4. เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้น
ร้อยละ80
- สามารถป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชนขึ้นได้ตลอดปีงบประมาณ
- สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคอย่างครอบคลุมทั้งพื้นที่
- ประชาชนมีความตื่นตัวและกระตุ้นให้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัขแมวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 24 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมจำนวน 160 คน50บาท2มื้อ เป็นเงิน 16,000 บาท 2.ค่าหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมจำนวน 160 คน25 บาท4มื้อ เป็นเงิน 16,000 บาท 3.ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1เมตร * 3 เมตร เป็นเงิน 450 บาท 4.ค่าวิทยากรอบรมจำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท 5.ค่ากระเป๋า ปากกา สมุดที่ใช้ในการอบรมจำนวน 160 ชุดๆละ 90 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท 6.ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรมจำนวน 160 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนได้รับความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า มีการนำสัตว์เลี้ยงเข้ารับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอย่างครบถ้วน
160
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่ นำโดย สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4. เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน (3) 3. ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่ นำโดย สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (4) 4. เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5290-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาด เตาวาโต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายอาด เตาวาโต
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5290-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5290-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องตายทุกคนซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัขแมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายของสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้และสัตว์ที่เป็นโรคก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มี.ค. – มิ.ย. ของทุกปีโรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัด หรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยงเช่น สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าถูกสัตว์กัดต้องรีบทำความสะอาดบาดแผลและไปพบแพทย์เพื่อทำการฉีดวัคซีนทันที
จังหวัดสตูล ได้ประกาศกำหนดเขตเฝ้าระวังโรคระบาดชนิดโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่จังหวัดสตูล จำนวน ๒๘ หมู่บ้าน ๑๐ ตำบล ๕ อำเภอ ซึ่งเป็นอำเภอที่มีพื้นที่ติดต่อกับอำเภอท่าแพ
ดังนั้นการดำเนินงานรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชนในเรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจึงเป็นกิจกรรมที่สามารถกระตุ้นให้ประชาชนที่มี สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่มีอยู่ในความดูแลหันมาตระหนักถึงปัญหาของโรคดังกล่าว ด้วยการที่มีความรู้ที่ถูกต้องและมารับบริการการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสัตว์เลี้ยงของตนจากการออกบริการของเจ้าหน้าที่จากกรมปศุสัตว์ซึ่งจะมีผลทำให้ลดอัตราการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนที่รัก สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ลดความเสี่ยงของการถูก สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้และมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า
- 2. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน
- 3. ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่ นำโดย สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
- 4. เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ80
- สามารถป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชนขึ้นได้ตลอดปีงบประมาณ
- สุนัขแมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคอย่างครอบคลุมทั้งพื้นที่
- ประชาชนมีความตื่นตัวและกระตุ้นให้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัขแมวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 24 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมจำนวน 160 คน50บาท2มื้อ เป็นเงิน 16,000 บาท 2.ค่าหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมจำนวน 160 คน25 บาท4มื้อ เป็นเงิน 16,000 บาท 3.ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1เมตร * 3 เมตร เป็นเงิน 450 บาท 4.ค่าวิทยากรอบรมจำนวน 12 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท 5.ค่ากระเป๋า ปากกา สมุดที่ใช้ในการอบรมจำนวน 160 ชุดๆละ 90 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท 6.ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรมจำนวน 160 ชุดๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนได้รับความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า มีการนำสัตว์เลี้ยงเข้ารับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอย่างครบถ้วน
|
160 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่ นำโดย สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน (3) 3. ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่ นำโดย สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (4) 4. เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ให้ความรู้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5290-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาด เตาวาโต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......