โครงการอบรมให้ความรู้และขลิปหนังหัุมปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมให้ความรู้และขลิปหนังหัุมปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิม |
รหัสโครงการ | 03/61 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
วันที่อนุมัติ | 19 เมษายน 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 29 เมษายน 2561 - 30 เมษายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 พฤษภาคม 2561 |
งบประมาณ | 51,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางยามีล๊ะสะตี |
พี่เลี้ยงโครงการ | มาเรียม |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 29 เม.ย. 2561 | 30 เม.ย. 2561 | 51,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 51,500.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การเข้าสุหนัตหรือมาโซ๊ะยาวีหรือฆีซานเป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดดังนั้นการเข้าสู่พิธีเข้าสุหนัตนิยมทำในวัยเด็กเพื่อความสะอาดของร่างกายในสมัยก่อนชาวมุสลิมส่วนมากนิยมเข้าพิธีสุหนัตกับหมอแผนโบราณหรือที่มุสลิมเรียกว่า “โต๊ะมูเด็ง” แต่ในปัจจุบันเพื่อความสะดวกจึงใช้แพทย์มุสลิมเป็นผู้ทำพิธีการเข้าสุหนัต ดังนั้นเพื่อสนับสนุนประเพณีทางศาสนาอิสลามและช่วยเหลือสนับสนุนเด็กในตำบลให้ดำรงอยู่ในแนวทางการปฏิบัติทางศาสนาอิสลามตลอดจนช่วยเหลือเด็กและผู้ปกครองในส่วนของค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและเพื่อเป็นการป้องกันการติดเชื้อ หรือลดความเสี่ยงจากภาวะออกเลือด( bleeding ) ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 บ้านสะเกที่มีพื้นที่รับผิดชอบที่มีประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 100และประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ ยึดถือการปฏิบัติตนตามหลักศาสนาอิสลาม การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมจึงเป็นการปฏิบัติที่เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต แต่เนื่องจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมจำเป็นที่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากพอสมควร โดยเฉพาะ ค่าหมอขลิปค่าเวชภัณฑ์ยา และการดูแลรักษาหลังการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลกรงปินัง ได้เห็นถึงความเดือดร้อนของผู้ปกครองเด็กที่มีฐานะยากจนและด้อยโอกาส จึงได้จัดทำโครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมหมู่สำหรับเยาวชนผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ตำบลกรงปินัง ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่ออบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีดูแลรักษาแผลหลังขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศทิีถูกต้อง 1.บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมที่ด้อยโอกาสในเขตตำบลกรงปินังในการเข้าถึงการบริการจากแพทย์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ติดโรคและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) |
30.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 51.00 | 0 | 0.00 | 51.00 | |
30 เม.ย. 61 | บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมที่ด้อยโอกาสในเขตตำบลกรงปินัง ในการเข้าถึงการบริการจากแพทย์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ติดโรคและภาวะออกเลือดมาก (bleeding) | 0 | 51.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 51.00 | 0 | 0.00 | 51.00 |
- กิจกรรมเตรียมความพร้อม
1) จัดประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ
2) ประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่สำรวจและรับสมัครเด็กและเยาวชนมุสลิมเข้าร่วมโครงการ
3) จัดตารางเวลา กำหนดการเพื่อออกบริการทำสุหนัตหมู่แก่เด็กและยาวชนมุสลิม
2.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ)(เยาวชนและผู้ปกครอง) เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
3.การติดตามและประเมิน เพื่อติดตามและประเมินอาการหลังการทำสุหนัต และความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็ก
- สรุปผลการดำเนินโครงการในภาพรวม
เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุหนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ( bleeding ) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2561 16:01 น.