โครงการ ชุมชนสวนมะพร้าวรักษ์สุขภาพห่างไกลโรค ปี 2561
ชื่อโครงการ | โครงการ ชุมชนสวนมะพร้าวรักษ์สุขภาพห่างไกลโรค ปี 2561 |
รหัสโครงการ | 61-L6961-02-34 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | พยาบาลวิชาชีพ ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก |
วันที่อนุมัติ | 23 เมษายน 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 23,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเคียงเพ็ญ ฐานะภักดี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.008,101.949place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 125 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : ระบุ |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยรัฐบาลมีนโยบายพัฒนาพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก เป็น เมืองต้นแบบการค้าชายแดนระหว่างประเทศ โดยคัดเลือกชุมชนสวนมะพร้าวเนื่องจากการดำเนินงานในปี 2560 พบว่าชุมชนสวนมะพร้าวมีจำนวนประชากรทั้งหมด 737 คน จำนวน 165 ครัวเรือน พื้นที่ชุมชนห่างไกลเมือง การเดินทางไม่สะดวก ส่วนใหญ่เป็นป่ายางพารา ประชากรทำอาชีพเกษตรกรรม และ ส่วนใหญ่เป็นวัยทำงาน มีกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 80 คน กลุ่มเสี่ยง 58 คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 4 คน ผู้พิการ 4 คน ซึ่งการดำเนินโครงการดังกล่าว เน้นการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย บูรณาการทุกภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งนำร่องในชุมชนสวนมะพร้าว เพื่อเป็นต้นแบบขยายสู่ชุมชนข้างเคียงต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
|
0.00 | |
2 | 2. เพื่อศักยภาพแกนนำด้านสุขภาพในชุมชน
|
0.00 | |
3 | 3. ส่งเสริม / สนับสนุนให้ภาคประชาชน / ภาครัฐ เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
|
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
7 พ.ค. 61 | กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค | 40 | 6,700.00 | - | ||
21 พ.ค. 61 | กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน | 35 | 6,200.00 | - | ||
28 พ.ค. 61 | กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ ใส่ใจ ผู้สูงอายุ สุขภาพดี | 40 | 4,600.00 | - | ||
4 มิ.ย. 61 | กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ D DAY ชุมชนสวนมะพร้าวห่างไกลมะเร็ง | 50 | 6,200.00 | - | ||
รวม | 165 | 23,700.00 | 0 | 0.00 |
กิจกรรมที่ 1อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน 1.1 อบรมเข้าปฏิบัติการให้ความรู้แก่ อสม. / แกนนำงานอนามัยแม่และเด็ก 1.2 ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และติดตามหญิงหลังคลอด 1.3 ติดตามภาวะโภชนาการ / พัฒนาการทุก 3 เดือน 1.4 บริการเชิงรุก ฉีดวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ในชุมชน สัปดาห์ละ 1-2 วัน กิจกรรมที่ 2อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค กิจกรรมที่ 3อบรมเชิงปฏิบัติการ "D DAY ชุมชนสวนมะพร้าวห่างไกลมะเร็ง" กิจกรรมที่ 4อบรมเชิงปฏิบัติการ "ใส่ใจ ผู้สูงอายุ สุขภาพดี" 4.1 ค้นหา / คัดกรอง / จัดกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชน 4.2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน 4.3 ติดตามผู้สูงอายุ ติดบ้าน / ติดเตียง
- เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
- หญิงวัยเจริญพันธ์ุได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอดครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย >80%
- ลดผู้ป่วยรายใหม่ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
- ผู้สูงอายุติดบ้าน / ติดเตียง / ผู้พิการ ได้รับการดูแล และ เข้าถึงบริการทุกราย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2561 08:47 น.