กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหาร เฝ้าระวังการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชื่อ โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสสังคมการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.ชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 256๑ ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
๑.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร และผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจำนวน  ๘ ร้าน
๒.ตรวจอาหารเพื่อหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) ในแผงลอยจำหน่ายอาหารสำเร็จรูป จำนวน ๘ ร้าน ๓.ผู้ปกครองเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก/ ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน
๔.อสม. ผู้นำชุมชนแกนนำชุมชนหรือผู้ประกอบการแผงลอย ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน
๕.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร จำนวน ๓ ร้าน
ผลตัวชี้วัด : ๑.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร ตรวจอาหารเพื่อหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) และ ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจำนวน  ๘ ร้าน ร้อยละ ๑๐๐ ๒.ผู้ปกครองเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก/ ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๒ (จำนวน ๔๒ คน) ๓.อสม. ผู้นำชุมชนแกนนำชุมชนหรือผู้ประกอบการแผงลอย ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๘ (จำนวน ๔๔ คน) ๔.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร จำนวน ๓ ร้าน ร้อยละ ๓๗.๕
    ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
      ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - ครุภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจสารเคมีตกค้างในตัวอย่างอาหาร  (น้ำยาSI2, แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - บุคลากร/วัสดุปกรณ์ในการอบรม ( เอกสาร แผ่นพับ แผ่นไวนิล)     กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - การสำรวจปัญหา


  • การเสนอแผนงาน/โครงการเพื่อใช้เงินบำรุง

    • งานคุ้มครองผู้บริโภคเป็นงานนโยบาย
  • การสำรวจข้อมูลจากรายงาน 506
  • จัดทำแผนงาน/โครงการหน้าเดียวเสนอนายแพทย์ สสจ.เพื่ออนุมัติโครงการ - การจัดเวทีประชาคม
  • รายงานผู้ป่วยทางระบาดวิทยา

แผนงาน/โครงการหน้าเดียว

  • พบผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาเป็นอันดับ ๑ ทุกปี
    • โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากนายแพทย์ สสจ.


กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน - ประชุมคณะกรรมการ


-ตรวจ ติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร อาหารปลอดภัย ร้านค้า แผงลอยขายอาหาร - การอบรมกลุ่มเป้าหมาย - ติดตาม นิเทศ ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหารในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน -ประชุมชี้แจงสภาพปัญหาและร่วมแสดงความคิดเห็น
- ออกตรวจ แนะนำร้านค้า แผงลอยในพื้นที่


-สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย - การบรรยาย - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การพูดคุย ชี้แจงปัญหาในประเด็นที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข - การจัดเวทีประชาคม - รายงานผู้ป่วยทางระบาดวิทยา

แผนงาน/โครงการหน้าเดียว


-หนังสือเชิญ - ประชุมและร่วมแสดงความคิดเห็น - น้ำยาSI2, แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - JHCIS, อสม. - เจ้าหน้า รพ.สต. เอกสาร แผ่นพับ - แบบประเมินสุขาภิบาลอาหาร - พบผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาเป็นอันดับ ๑ ทุกปี
- โครงการ ผ่านการอนุมัติงบประมาณจากนายแพทย์ สสจ.
มีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม จำนวน ๑๐ คน แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจ จำนวน ๘ แผง ร้อยละ ๑๐๐ - กลุ่มผู้ดูแลเด็ก ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน ร้อยละ ๑๐๐ -กลุ่ม อสม./แกนนำชุมชน/ผู้ประกอบการ ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร จำนวน ๕๐ คน ร้อยละ ๑๐๐ - สรุปผลการนิเทศ
-รายงานการตรวจร้านค้า/ แผงลอย




















2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ๑๐๐ คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..... ๙,๗๕๐.. บาท (เก้าพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน)        งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..... ๙,๗๕๐.. บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100......
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0...............บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0.......

  1. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี ผู้ประกอบการ ร้านค้า แผงลอย ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามข้อสุขาภิบาล ส่วนใหญ่มีความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหารและจะปรับปรุง และปฏิบัติเมื่อเจ้าหน้าที่ลงไปตรวจติตตาม หรือหลังการตรวจเยี่ยมใหม่ๆ เมื่อเวลาผ่านไป สภาพร้านค้า แผงลอยและพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารก็จะกลับสู่สภาพที่ไม่ถูกสุขลักษณะดังเดิม
    ๕. ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง
    • การให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพ อสม. /เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง และ อปท.มีการออกข้อกำหนดท้องถิ่นด้านการสุขาภิบาลอาหาร จะช่วยให้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ประสบความสำเร็จมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหาร สะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค 2.เพื่อให้ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งแก่ผู้บริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหาร ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย ร้อยละ 90 2.ผู้ประกอบการร้านขายชำ เข้ารับการอบรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 3.ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 4.อสม./ผู้นำชุมชน เข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร และ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 5.แผงลอยจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร ร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้า  อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหาร สะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ  ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค    2.เพื่อให้ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้อาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารสามารถเลือกซื้อและ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งแก่ผู้บริโภคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh