กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน
รหัสโครงการ 61-L5238-01-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.นางเหล้า
วันที่อนุมัติ 19 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 1 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 7,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมรัตน์ขำมาก
พี่เลี้ยงโครงการ นางเพียงขวัญกาญจนเพ็ญ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.603,100.385place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 89 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการ จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วง อหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษ และอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วง อหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษ และการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้น รัฐบาลจึงมุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นนโยบายสำคัญมาตั้งแต่ปี 2548 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ซึ่งมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์อาหาร การดำเนินโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ รวมทั้ง อะฟาท็อกซินตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ผ่านสื่อต่างๆ กิจกรรมเหล่านี้มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่สะอาด ปลอดภัย
จากข้อมูลการดำเนินงานอาหารปลอดภัยของตำบลชุมพล หมู่ที่ 2-4 ปี ในปี 2559 พบว่าร้านอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย 100% ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 100 แต่อย่างไรก็ตาม ยังต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือน เนื่องจากประชาชนปรุงอาหารรับประทานเองเป็นส่วนมาก จึงต้องมีการให้ความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่แม่บ้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องโรคอุจจาระร่วง ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับแรก ๆ ของเขตพื้นที่รับผิดชอบ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.นางเหล้า อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561 ขึ้น ซึ่งจะส่งผลทำให้อัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 0-5 ปี ลดน้อยลง ต่อไปการบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการ จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและยังช่วยสร้างเสริมภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สดสะอาดมีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงอหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษและอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงอหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษและการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุ ให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้น รัฐบาลจึงได้มุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นนโยบายสำคัญมาตั้งแต่ปี 2548 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารซึ่งมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์อาหาร การดำเนินโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ รวมทั้งอะฟาท็อกซินตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ผ่านสื่อต่าง ๆ กิจกรรมเหล่านี้มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่สะอาด ปลอดภัย
จากข้อมูลการดำเนินงานอาหารปลอดภัย ของตำบลชุมพล หมู่ที่ 2-4 ปี ในปี 2559 -2560 พบว่าร้านอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย100 %ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 100แต่อย่างไรก็ตาม ยังต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือน เนื่องจากประชาชนปรุงอาหารรับประทานเองเป็นส่วนมาก จึงต้องมีการให้ความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารแก่แม่บ้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องโรคอุจจาระร่วงซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับแรกๆของเขตพื้นที่รับผิดชอบ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและสร้างกระแสการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สะอาด ปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อน รพ.สต.นางเหล้าอ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2561ขึ้น ซึ่งจะส่งผลทำให้อัตราการเกิดโรคอุจจารร่วงในเด็กอายุ 0- 5 ปี ลดน้อยลง ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย รา้นค้า อสม.และแกนนำชุมชน มีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาด ปลอดภัย ตระหนักเห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค 2. เพื่อให้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน มีความรู้อาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย 3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วง 4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค
  1. ร้านค้า แผงลอย โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับการตรวจ ติดตาม ดูแลเฝ้าระวัง ด้านสุขาภิบาลอาหารผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัย มากกว่าร้อยละ 90
  2. ผู้ดูแลและเลี้ยงดูเด็ก ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี ครูผูัดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน อสม. หรือแกนนำชุมน ได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร และมีความรู้เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 80
  3. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง น้อยกว่าร้อยละ 10 ของค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2557-2561) โดยเทียบจากระบบรายงาน 506
  4. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคที่ระดับ 5 (จากแบบประเมินระดับการมีส่วนร่วม)
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กลวิธีดำเนินงาน ระยะเตรียมการ 1. จัดทำโครงการ 2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 3. จัดเตรียมสิ่งสนับสนุนในการดำเนินงานโครงการ 3.1วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร การประชุม/อบรม/จัดกิจกรรมรณรงค์ 3.2กำหนดการประชุม/หลักสูตรการอบรม 3.3งบประมาณวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารความรู้วิชาการ ดำเนินงานโรงเรียนอาหารปลอดภัยอย.น้อยในโรงเรียน และการพัฒนาแผงลอยอาหารตัวอย่าง


ระยะปฏิบัติการ 1. ตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารปลอดภัย ยาและเครื่องสำอาง แผง ลอยขายอาหารร้านค้าโรงอาหารในโรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน27 แห่ง 2. ตรวจ ติดตาม ร้านค้า เก็บตัวอย่างน้ำดื่มบริโภค 10 ตัวอย่าง / น้ำแข็ง บริโภคจำนวน 10 ตัวอย่าง
3. อบรมสุขาภิบาลอาหาร/อาหารปลอดภัยแก่ ผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครอง อายุ 0-5 ปีผู้ ประกอบอาหารและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์เด็กเล็กผู้ประกอบอาหารและครูในโรงเรียนอสม. หรือแกนนำชุมชน ผู้ประกอบการแผงลอย ร้านค้าจำนวน 80 คน 4. ตรวจโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) ในแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 3 แผง 5. ตรวจตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัยในจำหน่ายอาหาร จำนวน 3 แผง 6. สนับสนุนให้โรงเรียนเข้าร่วมประชุม ประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยอาหารร่วมกับรถโมบายของจังหวัด จำนวน 9 คน 7. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น ให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่มเอกสาร โป๊สเตอร์ แผ่นพับหอกระจายข่าว เสียงตามสาย

กลวิธีดำเนินงาน ระยะเตรียมการ 1. จัดทำโครงการ 2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 3. จัดเตรียมสิ่งสนับสนุนในการดำเนินงานโครงการ 3.1วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร การประชุม/อบรม/จัดกิจกรรมรณรงค์ 3.2กำหนดการประชุม/หลักสูตรการอบรม 3.3งบประมาณวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารความรู้วิชาการ ดำเนินงานโรงเรียนอาหารปลอดภัยอย.น้อยในโรงเรียน และการพัฒนาแผงลอยอาหารตัวอย่าง ระยะปฏิบัติการ 1. ตรวจ ติดตาม ดูแลและเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารปลอดภัย ยาและเครื่องสำอาง แผง ลอยขายอาหารร้านค้าโรงอาหารในโรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน27 แห่ง 2. ตรวจ ติดตาม ร้านค้า เก็บตัวอย่างน้ำดื่มบริโภค 10 ตัวอย่าง / น้ำแข็ง บริโภคจำนวน 10 ตัวอย่าง
3. อบรมสุขาภิบาลอาหาร/อาหารปลอดภัยแก่ ผู้ดูแลเด็กหรือผู้ปกครอง อายุ 0-5 ปีผู้ ประกอบอาหารและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์เด็กเล็กผู้ประกอบอาหารและครูในโรงเรียนอสม. หรือแกนนำชุมชน ผู้ประการแผงลอย ร้านค้าจำนวน 80 คน 4. ตรวจโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) ในแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 3 แผง 5. ตรวจตามข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัยในจำหน่ายอาหาร จำนวน 3 แผง 6. สนับสนุนให้โรงเรียนเข้าร่วมประชุม ประชาสัมพันธ์ความปลอดภัยอาหารร่วมกับรถโมบายของจังหวัด จำนวน 9 คน 7. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น ให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่มเอกสาร โป๊สเตอร์ แผ่นพับหอกระจายข่าว เสียงตามสาย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนมีสุขภาพดี /อัตราการเกิดโรคจากการสุขาภิบาลอาหารไม่ถูกต้องลดลง 2.ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2561 14:39 น.