ชุมชนและตลาดปลอดหนู
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชุมชนและตลาดปลอดหนู ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ชุมชนและตลาดปลอดหนู
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนและตลาดปลอดหนู จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนและตลาดปลอดหนู
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนและตลาดปลอดหนู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 822,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นพาหะนำโรคสู่มนุษย์ได้หลายโรค เช่น หนู นำโรคพิษสุนัขบ้า โรคเลปโตสไปโรซิส โรคสครัปไทฟัส โรคหนอนพยาธิต่าง ๆ และโรคแบคทีเรีย แมลงสาบ นำโรคที่สำคัญ คือปล่อยสารก่อภูมิแพ้ทำให้เป็นหอบหืด โรคจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตชัว และไวรัส ส่วนแมลงวันนำโรคอหิวาตกโรค เชื้อบิด เชื้อไข้รากสาด เชื้อแบคทีเรีย เป็นต้น เทศบาลนครหาดใหญ่ เป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ มีการอาศัยอยู่ของประชาชนค่อนข้างหนาแน่นปัญหาที่สำคัญ คือ ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน แหล่งชุมชนมีปริมาณค่อนข้างมาก การจัดสร้างอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ปัญหาจากการเกิดอุทกภัย และเหตุอื่น ๆ ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มปริมาณของสัตว์พาหะนำโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ไม่เพียงแต่ในชุมชมชนที่พบว่ามีหนูค่อนข้างชุกชุม แม้แต่ในตลาดซึ่งเป็นสถานที่จัดจำหน่ายสินค้า เป็นสถานที่ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายมาติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการ พบว่า ความสะอาดของตลาดยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของหลักสุขาภิบาล รวมถึงการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมยังไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดแหล่งรังโรคของสัตว์พาหะหลายชนิด โดยเฉพาะหนู เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ สำนักงานควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา ได้ลงดำเนินการสุ่มจับหนูภายในตลาดสดเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้แก่ตลาดกิมหยง ตลาดพลาซ่า ๑,๒,๓ และตลาดทัวร์รัถการ จำนวนตัวอย่างหนู ๒๐๐ ตัว ทำการตรวจเลือด พบความชุกของโรคฉี่หนูคิดเป็นร้อยละ ๒๕ ซึ่งถือว่ามีอัตราเสี่ยงสูงในการนำโรคฉี่หนู มาสู่ประชาชนที่ใช้ชีวิตประจำวันในบริเวณที่เสี่ยง
หนูเป็นสัตว์ที่มีการแพร่พันธุ์ค่อนข้างรวดเร็ว สามารถเพิ่มปริมาณได้ในระยะเวลาอันสั้น และเคลื่อนที่ไปหาอาหารตามจุดต่าง ๆ การดำเนินการควบคุมการแพร่พันธุ์ จึงต้องมีความต่อเนื่อง และดำเนินการรณรงค์อย่างพร้อมเพรียง ในห้วงเวลาเดียวกัน จึงจะช่วยลดปริมาณหนูและลดการแพร่พันธุ์ รวมทั้งการสร้างจิตสำนึก เรื่องความสะอาดหลังการดำเนินการกำจัดหนู จะช่วยลดแหล่งอาหารและแหล่งแพร่พันธุ์ของหนูลงได้
จากรายงานและการเฝ้าติดตามสถานการณ์ของโรคฉี่หนู และเหตุเดือดร้อนรำคาญจากหนู ที่ประชาชนได้รับผลกระทบมาอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำโครงการ “ชุมชนและตลาดปลอดหนู” ขึ้น เพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้ปลอดจากโรค ชุมชนและตลาดปลอดหนู รวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์ของตลาดสดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ และช่วยให้ประชาชนมีความมั่นใจในความสะอาด และปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกัน และกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันหนูที่เป็นพาหะนำโรค
- เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำโครงการ และเสนอต่อผู้บริหาร
- จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน
- รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
- กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
- ประชุมประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนูโดยประชาชนมีส่วนร่วม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
250
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราการเกิดโรคจากหนูเป็นพาหะนำโรคลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ
ประชาชน และผู้ประกอบการเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชน ตลอดจนมีความรู้และพฤติกรรมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และกำจัดสัตว์นำโรค
ประชาชนไม่เดือดร้อนรำคาญจากการที่หนูเข้าไปสร้างความเดือดร้อนรำคาญในบ้าน ในร้านค้า และในตลาด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดทำโครงการ และเสนอต่อผู้บริหาร
วันที่ 22 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
นำเสนอโครงการกรรมการกองทุน อนุมัติโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการได้รับการอนุมัติ
0
0
2. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
วันที่ 2 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะพร้อมแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่หนู
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการเดินรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะพร้อมแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ทำให้ประชาชนได้รับความรู้
0
0
3. จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน
วันที่ 2 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1. ประชุมประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนูโดยประชาชนมีส่วนร่วม
2. จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เห็นด้วยและให้ความสนใจในกิจกรรม
- กำหนดวัน เวลา สถานที่ปฏิบัติกิจกรรมตามรูปแบบที่ได้กำหนดร่วมกัน
0
0
4. รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
วันที่ 2 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
5.1 กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะพร้อมแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่หนู
5.2 จัดกิจกรรมกำจัดหนูในตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ และชุมชนทั้ง 103 ชุมชน โดยมอบอุปกรณ์ในการดำเนินการกำจัดหนูให้ตัวแทนจากตลาด ตัวแทนคณะกรรมการชุมชน ไป
ดำเนินการรณรงค์พร้อมกัน ดังนี้
- เหยื่อพิษกำจัดหนู
- ถุงมือ
- หน้ากากอนามัย
5.3 ร่วมกับฝ่ายบริการรักษาความสะอาด จัดล้าง ทำความสะอาดตลาด จัดเก็บขยะ และทำความสะอาดตลาด จัดเก็บขยะ และทำความสะอาดคูระบายน้ำที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์หนู
5.4 ขอความร่วมมือผู้ประกอบการ พ่อค้า แม่ค้า และชุมชนในการดูแลความสะอาด จัดเก็บขยะให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์หนู โดยดำเนินการอย่างต่อเนื่องกระตุ้นการดำเนินงาน
เป็นระยะๆ
5.5 ประเมินผลและติดตามผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อัตราการเกิดโรคจากหนูเป็นพาหะนำโรคลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ
ประชาชน และผู้ประกอบการเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชน ตลอดจนมีความรู้และพฤติกรรมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และกำจัดสัตว์นำโรค
ประชาชนไม่เดือดร้อนรำคาญจากการที่หนูเข้าไปสร้างความเดือดร้อนรำคาญในบ้าน ในร้านค้า และในตลาด
0
0
5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องหนู และโรคฉี่หนู แก่ประธาน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาด ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน
วันที่ 6 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ทำหนังสือขอใช้ห้องประชุม
ทำหนังสือเชิญตัวแทนประธาน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาด ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน
ทำหนังสือขอความอนุเคราะห์พิธีกร ,ช่างภาพ
ทำหนังสือขอเชิญเป็นเกียรติเข้าร่วมพิธีเปิดกิจกรรม
จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
ดำเนินกิจกรรมอบรมตามที่ได้วางแผนไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประธาน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาด ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน จำนวน ๓๐๐ คนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
สถานการณ์โรคฉี่หนูและปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
ความรู้เรื่องหนูและโรคฉี่หนู
การดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนและตลาด เพื่อลดปัจจัยเอื้อต่อการแพร่พันธุ์ของหนู
300
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนู
0.00
2
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกัน และกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีความตระหนักเรื่องโรคที่มีหนูเป็นพาหะ และให้ความร่วมมือในการป้องกันและกำจัดหนู
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะร้อยละ ๗๐ จากการสุ่มสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม
0.00
4
เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : อัตราส่วนการเกิดโรคฉี่หนูลดลงร้อยละ ๒๐ เปรียบเทียบย้อนหลัง ๓ ปี
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
350
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
250
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกัน และกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันหนูที่เป็นพาหะนำโรค (4) เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการ และเสนอต่อผู้บริหาร (2) จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน (3) รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ (4) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (5) ประชุมประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนูโดยประชาชนมีส่วนร่วม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชุมชนและตลาดปลอดหนู จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชุมชนและตลาดปลอดหนู ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนและตลาดปลอดหนู จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนและตลาดปลอดหนู
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนและตลาดปลอดหนู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 822,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นพาหะนำโรคสู่มนุษย์ได้หลายโรค เช่น หนู นำโรคพิษสุนัขบ้า โรคเลปโตสไปโรซิส โรคสครัปไทฟัส โรคหนอนพยาธิต่าง ๆ และโรคแบคทีเรีย แมลงสาบ นำโรคที่สำคัญ คือปล่อยสารก่อภูมิแพ้ทำให้เป็นหอบหืด โรคจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตชัว และไวรัส ส่วนแมลงวันนำโรคอหิวาตกโรค เชื้อบิด เชื้อไข้รากสาด เชื้อแบคทีเรีย เป็นต้น เทศบาลนครหาดใหญ่ เป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ มีการอาศัยอยู่ของประชาชนค่อนข้างหนาแน่นปัญหาที่สำคัญ คือ ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน แหล่งชุมชนมีปริมาณค่อนข้างมาก การจัดสร้างอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ปัญหาจากการเกิดอุทกภัย และเหตุอื่น ๆ ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มปริมาณของสัตว์พาหะนำโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ไม่เพียงแต่ในชุมชมชนที่พบว่ามีหนูค่อนข้างชุกชุม แม้แต่ในตลาดซึ่งเป็นสถานที่จัดจำหน่ายสินค้า เป็นสถานที่ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายมาติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการ พบว่า ความสะอาดของตลาดยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของหลักสุขาภิบาล รวมถึงการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมยังไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดแหล่งรังโรคของสัตว์พาหะหลายชนิด โดยเฉพาะหนู เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ สำนักงานควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา ได้ลงดำเนินการสุ่มจับหนูภายในตลาดสดเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้แก่ตลาดกิมหยง ตลาดพลาซ่า ๑,๒,๓ และตลาดทัวร์รัถการ จำนวนตัวอย่างหนู ๒๐๐ ตัว ทำการตรวจเลือด พบความชุกของโรคฉี่หนูคิดเป็นร้อยละ ๒๕ ซึ่งถือว่ามีอัตราเสี่ยงสูงในการนำโรคฉี่หนู มาสู่ประชาชนที่ใช้ชีวิตประจำวันในบริเวณที่เสี่ยง หนูเป็นสัตว์ที่มีการแพร่พันธุ์ค่อนข้างรวดเร็ว สามารถเพิ่มปริมาณได้ในระยะเวลาอันสั้น และเคลื่อนที่ไปหาอาหารตามจุดต่าง ๆ การดำเนินการควบคุมการแพร่พันธุ์ จึงต้องมีความต่อเนื่อง และดำเนินการรณรงค์อย่างพร้อมเพรียง ในห้วงเวลาเดียวกัน จึงจะช่วยลดปริมาณหนูและลดการแพร่พันธุ์ รวมทั้งการสร้างจิตสำนึก เรื่องความสะอาดหลังการดำเนินการกำจัดหนู จะช่วยลดแหล่งอาหารและแหล่งแพร่พันธุ์ของหนูลงได้ จากรายงานและการเฝ้าติดตามสถานการณ์ของโรคฉี่หนู และเหตุเดือดร้อนรำคาญจากหนู ที่ประชาชนได้รับผลกระทบมาอย่างต่อเนื่อง ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำโครงการ “ชุมชนและตลาดปลอดหนู” ขึ้น เพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้ปลอดจากโรค ชุมชนและตลาดปลอดหนู รวมทั้งเสริมสร้างภาพลักษณ์ของตลาดสดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ และช่วยให้ประชาชนมีความมั่นใจในความสะอาด และปลอดภัยจากโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม
- เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกัน และกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันหนูที่เป็นพาหะนำโรค
- เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดทำโครงการ และเสนอต่อผู้บริหาร
- จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน
- รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่
- กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
- ประชุมประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนูโดยประชาชนมีส่วนร่วม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 250 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
อัตราการเกิดโรคจากหนูเป็นพาหะนำโรคลดลงเปรียบเทียบก่อน และหลังดำเนินโครงการ
ประชาชน และผู้ประกอบการเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชน ตลอดจนมีความรู้และพฤติกรรมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และกำจัดสัตว์นำโรค
ประชาชนไม่เดือดร้อนรำคาญจากการที่หนูเข้าไปสร้างความเดือดร้อนรำคาญในบ้าน ในร้านค้า และในตลาด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดทำโครงการ และเสนอต่อผู้บริหาร |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำนำเสนอโครงการกรรมการกองทุน อนุมัติโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการได้รับการอนุมัติ
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 2 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะพร้อมแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการเดินรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะพร้อมแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ทำให้ประชาชนได้รับความรู้
|
0 | 0 |
3. จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน |
||
วันที่ 2 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ1. ประชุมประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนูโดยประชาชนมีส่วนร่วม 2. จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ |
||
วันที่ 2 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ5.1 กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคที่เกิดจากหนูเป็นพาหะพร้อมแจกแผ่นพับความรู้เรื่องโรคฉี่หนู 5.2 จัดกิจกรรมกำจัดหนูในตลาดสดภายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ และชุมชนทั้ง 103 ชุมชน โดยมอบอุปกรณ์ในการดำเนินการกำจัดหนูให้ตัวแทนจากตลาด ตัวแทนคณะกรรมการชุมชน ไป ดำเนินการรณรงค์พร้อมกัน ดังนี้ - เหยื่อพิษกำจัดหนู - ถุงมือ - หน้ากากอนามัย 5.4 ขอความร่วมมือผู้ประกอบการ พ่อค้า แม่ค้า และชุมชนในการดูแลความสะอาด จัดเก็บขยะให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์หนู โดยดำเนินการอย่างต่อเนื่องกระตุ้นการดำเนินงาน 5.5 ประเมินผลและติดตามผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องหนู และโรคฉี่หนู แก่ประธาน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาด ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน |
||
วันที่ 6 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประธาน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการตลาด ตัวแทนพ่อค้า แม่ค้า อสม. และนักเรียน จำนวน ๓๐๐ คนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
|
300 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนู |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกัน และกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย มีความตระหนักเรื่องโรคที่มีหนูเป็นพาหะ และให้ความร่วมมือในการป้องกันและกำจัดหนู |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันหนูที่เป็นพาหะนำโรค ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคที่มีหนูเป็นพาหะร้อยละ ๗๐ จากการสุ่มสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : อัตราส่วนการเกิดโรคฉี่หนูลดลงร้อยละ ๒๐ เปรียบเทียบย้อนหลัง ๓ ปี |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 350 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 250 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมดำเนินงานป้องกันโรค โดยประชาชนมีส่วนร่วม (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา ร่วมป้องกัน และกำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันหนูที่เป็นพาหะนำโรค (4) เพื่อรณรงค์กำจัดหนูที่เป็นพาหะนำโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการ และเสนอต่อผู้บริหาร (2) จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน (3) รณรงค์กำจัดหนูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ (4) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (5) ประชุมประธาน คณะกรรมการชุมชน อสม. และคณะกรรมการตลาด ทุกแห่งในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดหนูโดยประชาชนมีส่วนร่วม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ชุมชนและตลาดปลอดหนู จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......