กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางโกระ


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ”

ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางเสาวลักษณ์ ศรเรือง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก

ที่อยู่ ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2982-3-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางโกระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2982-3-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางโกระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจ สภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 7 พ.ศ.2555 พบว่ากลุ่มวัยผู้สูงอายุ 60-70 ปีในเขตชนบทมีฟันผุที่ไม่ได้รับการรักษาซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการสูญเสียฟันในอนาคต ร้อยละ 51 ซึ่งสูงกว่าเขตุเมืองและกรุงเทพมหานคร ตรงข้าม 8 ผู้สูงอายุในชนบทมีฟันใช้งานได้น้อยกว่า 20 ซี่จำนวนสูงกว่าผู้สูงอายุในเขตเมืองชัดเจน คือร้อยละ 63 และ 48 ตามลำดับ โดยเฉลี่ยทั้งประเทศมีฟันใช้งานไม่น้อยกว่า 20 ซี่ ร้อยละ 57 นอกจากนี้ผู้สูงอายุ 80-89ปีพบมีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ ประมาณ 1 ใน 4 คือ ร้อยละ 57 นอกจากนี้ผู้สูงอายุ80-89ปี พบมีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ ประมาณ 1 ใน 4 คือ ร้อยละ 24 คู่สบฟันหลังเป็นตัวชี้วัดความสำคัญในการวัดประสิทธิภาพการบดเคี้ยว ซึ่งควรมีอย่างน้อย 4 คู่สบจึงจะเพียงพอต่อการบดเคี้ยว พบว่ามีเพียง 3 คู่/คนในกลุ่มผู้สูงอายุ 60-74ปี และลดลงอีกจนเหลือเพียง 1คู่/คนเมื่ออายุ 80 ปีนั่นหมายถึง เมื่ออายุเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพในการบดเคี้ยวอาหารของผู้สูงอายุไทยลดลง อย่างไรก็ตาม ผู้สูงอายุ 60-74ปี ที่อยู่ในชนบทร้อยละ 48 ยังคงมีคู่สบฟันหลังอย่างน้อย 4 คู่ ซึ่งสูงกว่าผู้สูงอายุในเขตเมืองและกรุงเทพมหานคร ที่มีเพียง ร้อยละ 37 และ 38 ตามลำดับสถานการณ์ที่สะท้อนปัญหาที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุมากที่สุด คือการปราศจากฟันแท้ทั้งปาก ซึ่งพบร้อยละ 7.2 ดังนั้นการดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องที่สำคัญต่อการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีการจัดการโครงการมีแนวคิดการดำเนินงาน คือการสร้างความตระหนักการดูช่องปากด้วยตนเองของผู้สูงอายุและฝึกทักษะการแปรงฟัน222 (แปรงฟัน2เวลา แปรงนาน2นาที งดอาหารหลังแปรงฟัน2ชั่วโมง) จัดบริหารตรวจ ส่งเสริมป้องกันและรักษาช่องปากเบื้องต้น ค้นหาผู้ที่จำเป็นต้องได้ฟันเทียม และส่งต่อถ้าจำเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะและดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้
  2. 2.เพื่อผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจส่งเสริมป้องกันและรักษาช่องปาก
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรับฟันเทียมเข้าถึงบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้และให้ผู้เข้าร่วมเตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพในช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุสาารถดูแลช่องปากและฟันของตนเองได้ 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากและคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้และให้ผู้เข้าร่วมเตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพในช่องปาก

วันที่ 28 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุและรับสมัรผู้เข้าร่วมโครงการ 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้วามรู้เรื่องการดูและาสุขาพในชข่องปากและฟัน ฝึกการแปรงงฟันและใช้ไหมขัดฟัน โดยแยกเป็นรายหมู่บ้าน หรือกลุ่มผู้สูงอายุ 30-40
3.ตรวจช่องปากและฟันโดยเจ้าหน้าที่ทันตภิบาลหากจำเป็น้องขูดหินน้ำลายอุดหรือถอนจะนัดไปรับการดูแลเบื้องต้นที่ รพ.สต. หรือ รพ และส่งต่อพบทันตแพทย์หากจำเป็น 4.นัดตรวจช่องปากและฟันทุก 6 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการดูแลช่องปากและฟันและใช้ไหมขัดฟันโดยแยกเป็นรายหมู่บ้าน หรื่อกลุ่มผู้สูงอายุ มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 54 คนคิดเป็นร้อยละ 100 ของโครงการ ผลการตรวจช่องปากมีดังนี้ ผู้เข้าตรวจทั้งหมด 45 คน สุขภาพฟันดีไม่มีฟันผุ 7 คน ฟันผุ 29 คน ไม่มีฟัน 9 คน นัดตรวจช่องปากฟันทุก 6 เดือน 29 คน จำเป็นต้องใส่ฟันเทียม 4 คน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะและดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจส่งเสริมป้องกันและรักษาช่องปาก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรับฟันเทียมเข้าถึงบริการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะและดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้ (2) 2.เพื่อผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจส่งเสริมป้องกันและรักษาช่องปาก (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องรับฟันเทียมเข้าถึงบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้และให้ผู้เข้าร่วมเตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพในช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2982-3-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาวลักษณ์ ศรเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด