กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้าน ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมถวิลกาญจนเพ็ญ

ชื่อโครงการ โครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้าน

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5238-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5238-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจ โรคมะเร็ง ฯลฯ เป็นโรคที่กลายเป็นปัญหาสุขภาพของประชาชน โดยทั่วไป รวมถึงประชาชน ตำบลชุมพล ด้วยจากข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล(รพ.สต.) พบว่า ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ชุมพล มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวนคน ซึงถือว่ามีจำนวนมากพอสมควร ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้ได้รับการรักษาจากโรงพยาบาลต่าง ๆ หลายโรงพยาบาล รวมถึงที่ รพ.สต. ชุมพลด้วยและจากการเข้าไปช่วยเหลือในคลินิก ผู้ป่วยโรคเรื้องรังที่ รพ.สต. พบว่าผู้ป่วยต้องมารับบริการตั้งแต่เช้าตรู่เพื่อมารับคิวก่อน และไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และเมื่อเข้าช่วงรับการตรวจรักษา จะใช้เวลานานพอสมควร ทำให้บางคนหิว และต้องรอนาน ดังนั้นอสม.ในเขตรับผิดชอบ ของ รพ.สต. ชุมพลเห็นถึงความจำเป็น และเพื่อให้บริการแก่ผู้ป่วย พร้อมทั้งช่วยลดระยะเวลาการรอคอยในการรับบริการ และผู้ป่วยไม่ต้องอดอาหารในตอนเช้าที่แพทย์นัด จึงได้จัดทำโครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้านขึ้น เพื่อลดปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. ลดระยะเวลาการรับบริการ 2. เพื่อให้ผู้ป่วยไม่หิวขณะที่รอรับบริการในวันพบแพทย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 123
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้ป่วยมารับการรักษาพยาบาลในคลินิก ได้รับประทานอาหารและยา ก่อนมาพบแพทย์และไม่ต้องเร่งรีบมาตั้งแต่เช้าตรู่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ชื่อ โครงการ อุ่นใจ อสม. ใกล้บ้าน ๑.ผลการดำเนินงาน ผลผลิต :
    ผู้ป่วย ได้รับการเจาะเลือดและวัดความดันโลหิตก่อน พบแพทย์ จำนวน 123  คน ผลตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการตรวจรักษาที่รวดเร็ว ลดระยะเวลา จาก 2 ชั่วโมง เป็น 1 ชั่วโมง 2. ผู้ป่วยทุกคนได้รับประทานอาหารเช้า ในวันที่รับบริการ กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน การสำรวจปัญหา





    การของบประมาณสนับสนุน





    -.ประชุม อสม. ในพื้นที่ เพื่อ สำรวจจำนวนผู้ป่วยที่ป่วยเป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่รับ ที่ รพ. สต. ชุมพล -สอบถามความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อการบริการของ
    อสม. ในพื้นที่

    -ประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชุมพล -การประชุมประจำเดือน
    อสม. - สอบผู้ป่วยรายบุคคล


    การประชุมร่วมแสดงความคิดเห็นความจำเป็นของปัญหา/การสนับสนุนงบประมาณ -จากการสอบถามผู้ป่วยอยากให้มีบริการตรวจก่อนพบแพทย์เพื่อความสะดวกและลดระยะเวลาในการรับบริการในแต่ละครั้ง


    • เกิดโครงการอุ่นใจ อสม. ใกล้บ้าน





    กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน 1 ตัวแทน อสม. เจาะเลือดปลายนิ้วและวัดความโลหิตให้กับผู้ป่วยที่บ้าน ก่อนพบแพทย์ 1 วัน








    1.คัดเลือก อสม. ที่เป็นตัวแทนในการเจาะเลือด (เจาะปลายนิ้วมือ ในผู้ป่วยเบาหวาน) และวัดความดันโลหิตผู้ป่วย

    2.ชี้แจงวิธีการดำเนินงาน แก่ ตัวแทน อสม. 3.รพ.สต. ชุมพลส่งรายชื่อผู้ป่วยที่แพทย์นัดแต่ละเดือนให้กับ ตัวแทน อสม.
    4.ดำเนินการเจาะเลือด และวัดความดัน ก่อนพบแพทย์ 1 วัน 5.ส่งผล เลือด และความดันโลหิต ให้กับ รพ.สต. ชุมพลทางไลท์ หรือลงในสมุดประจำตัวผู้ป่วย


    6.สรุปผลโครงการ -อสม.ที่มีความชำนาญในการเจาะเลือดปลายนิ้วและวัดความดันโลหิต และสามารถการอ่านค่าของผลเลือดและค่าของความดันโลหิตได้ -ประชุมประจำเดือน อสม -แนะนำวิธีการตรวจเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความมั่นใจมากขึ้น -ส่งรายชื่อผู้ป่วยจากการนัดของแพทย์ในแต่ละครั้งทางไลท์ - ตัวแทน อสม. ที่ได้รับการคัดเลือก

    -อสม.ส่งผลการตรวจทางไลท์และการบันทึกในสมุดประจำตัวผู้ป่วย -อสม.ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนมีความตั้งใจในการให้บริการแก่ผู้ป่วย


    -ความรวดเร็วในการรับข้อมูลจาก รพ.สต.

    -ผู้ป่วยได้รับการเจาะเลือดและวัดความดันโลหิตก่อนพบแพทย์ทุกครั้ง 1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรังได้รับการตรวจรักษาที่รวดเร็ว ลดระยะเวลา จาก 2 ชั่วโมง เป็น 1 ชั่วโมง 2.ผู้ป่วยทุกคนได้รับประทานอาหารเช้า ในวันที่รับบริการ -เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ

    1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 123 คน

    2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 3690 บาท (สามพันหกร้อยเก้าสิบบาทถ้วน)       งบประมาณเบิกจ่ายจริง 3690 บาท  คิดเป็นร้อยละ ....100......
      งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0...............บาท  คิดเป็นร้อยละ .....0.......

    3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน •ไม่มี • มี
      -ผู้ป่วยที่ไม่ได้นัดจากแพทย์ ขอรับการเจาะเลือดและวัดความดันโลหิตด้วย
      ๕. ปัจจัยที่ทำให้โครงการบรรลุผลสำเร็จ/ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข/ปรับปรุง

    - อสม. มีความชำนาญการในเจาะเลือดและวัดความดันโลหิต ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเชื่อมั่น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1. ลดระยะเวลาการรับบริการ 2. เพื่อให้ผู้ป่วยไม่หิวขณะที่รอรับบริการในวันพบแพทย์
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง ได้รับการตรวจรักษาที่รวดเร็ว ลดระยะเวลา จาก 2 ชั่วโมง เป็น 1 ชั่วโมง 2. ผู้ป่วยทุกคนได้รับประทานอาหารเช้า ในวันที่รับบริการ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 123
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 123
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. ลดระยะเวลาการรับบริการ          2.  เพื่อให้ผู้ป่วยไม่หิวขณะที่รอรับบริการในวันพบแพทย์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อุ่นใจ อสม.ใกล้บ้าน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5238-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมถวิลกาญจนเพ็ญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด