โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ ”
ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 14/2561 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...- การประสานงานกับเครือข่ายในชุมชนและเจ้าหน้าที่ต่างตำบลให้มีช่วงระยะเวลายาวกว่านี้ เพื่อจะได้เตรียมตัวล่วงหน้า
- มีการประชาสัมพันธ์ในชุมชนให้ทั่วถึงมากขึ้น
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากช่วงวัยต้นของชีวิต คือ เด็ก ๐–๕ ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ดังนั้นเพื่อให้เด็กวัย ๐–๕ ปีมีสุขภาพดีนั้น ควรได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้านได้แก่ การเจริญเติบโตสมส่วนตามวัย พัฒนาการด้านสมองตามวัย การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันไม่ให้มีฟันผุ และรับวัคซีนครบตามกำหนด
จากการการสำรวจพบว่า ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟังและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งจากผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพกลุ่มเด็กอายุ ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ของตำบลตันหยงลุโละ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) ต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐ ,งานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ๐-๕ ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ ๕๕.๕๕ ,งานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๙๗.๑๒ และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเด็กพบว่ามีเด็กอายุ ๓-๕ ปี มีฟันผุ ร้อยละ ๖๐.๓๕ (ข้อมูลจาก HDC) จากรายงานแม้ขนาดของปัญหาลดลง แต่ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยในระดับภาคและระดับประเทศ จึงทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของเด็กแบบองค์รวมให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์ เพื่อให้ความรู้เรื่องดังกล่าวแก่ผู้ปกครอง และส่งเสริมพัฒนาเด็กวัย ๐-๕ ปี ในเรื่องการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าระวังฟัน และวัคซีน เพื่อสร้างเด็กให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมตามวัย เป็นพลเมืองสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์ ตำบลตันหยงลุโละ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
126
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
39
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๘.๑ ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐ - ๕ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม
และครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
๘.๒ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
๘.๓ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์ ตำบลตันหยงลุโละ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
วันที่ 14 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ
๗.๑ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ปกครองเด็ก และอสม. จำนวน ๑๖๕ คน x ๒๕ บาท x
๒ มื้อ x ๑ วัน เป็นเงิน ๘,๒๕๐ บาท
๗.๒ ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่ม สำหรับผู้ปกครองเด็ก และอสม. จำนวน ๑๖๕ คน x ๕๐ บาท
๑ มื้อ x ๑ วัน เป็นเงิน ๘,๒๕๐ บาท
๗.๓ ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท
๗.๔ ค่ารางวัลการประกวด
- ชนะเลิศอันดับ ๑ จำนวน ๑ รางวัล เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท
- รองชนะเลิศอันดับ ๑ จำนวน ๑ รางวัล เป็นเงิน ๗๐๐ บาท
- รองชนะเลิศอันดับ ๒ จำนวน ๑ รางวัล เป็นเงิน ๕๐๐ บาท
- ชมเชย รางวัลละ ๓๐๐ บาท จำนวน ๓ รางวัล เป็นเงิน ๙๐๐ บาท
รวมเป็นเงิน ๓,๑๐๐ บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๒๑,๖๐๐ บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑.๕.๑ ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐ - ๕ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม และครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๐
๑.๕.๒ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๘๕
๑.๕.๓ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๕
๑.๖ ปัญหา/อุปสรรค
๑.๖.๑ สถานที่ที่จัดอบรมและจัดกิจกรรมประกวดมีพื้นที่จำกัด
๑.๖.๒ บุคลากรในการจัดกิจกรรมประกวดมีจำนวนไม่เพียงพอเนื่องจากจัดกิจกรรมอย่างกระชันชิด
๑.๗ บทเรียนที่ได้รับ<br />
จัดกิจกรรมตรงกับวันศุกร์ ทำให้กลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นผู้ปกครองที่เป็นผู้ชายของเด็กที่พามาประกวด ทำให้ต้องเร่งรีบไปละหมาดวันศุกร์ จึงทำให้อยู่ในงานจัดกิจกรรมไม่จบงาน
๑.๘ โอกาสพัฒนา
- การประสานงานกับเครือข่ายในชุมชนและเจ้าหน้าที่ต่างตำบลให้มีช่วงระยะเวลายาวกว่านี้ เพื่อจะได้เตรียมตัวล่วงหน้า
- มีการประชาสัมพันธ์ในชุมชนให้ทั่วถึงมากขึ้น
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑.๕.๑ ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐ - ๕ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม และครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๐
๑.๕.๒ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๘๕
๑.๕.๓ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๕
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
165
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
126
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
39
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...- การประสานงานกับเครือข่ายในชุมชนและเจ้าหน้าที่ต่างตำบลให้มีช่วงระยะเวลายาวกว่านี้ เพื่อจะได้เตรียมตัวล่วงหน้า
- มีการประชาสัมพันธ์ในชุมชนให้ทั่วถึงมากขึ้น
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 14/2561
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ ”
ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 14/2561 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...- การประสานงานกับเครือข่ายในชุมชนและเจ้าหน้าที่ต่างตำบลให้มีช่วงระยะเวลายาวกว่านี้ เพื่อจะได้เตรียมตัวล่วงหน้า - มีการประชาสัมพันธ์ในชุมชนให้ทั่วถึงมากขึ้น
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากช่วงวัยต้นของชีวิต คือ เด็ก ๐–๕ ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ดังนั้นเพื่อให้เด็กวัย ๐–๕ ปีมีสุขภาพดีนั้น ควรได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้านได้แก่ การเจริญเติบโตสมส่วนตามวัย พัฒนาการด้านสมองตามวัย การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันไม่ให้มีฟันผุ และรับวัคซีนครบตามกำหนด จากการการสำรวจพบว่า ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟังและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งจากผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพกลุ่มเด็กอายุ ๐-๕ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ของตำบลตันหยงลุโละ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) ต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐ ,งานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ๐-๕ ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ ๕๕.๕๕ ,งานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๙๗.๑๒ และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเด็กพบว่ามีเด็กอายุ ๓-๕ ปี มีฟันผุ ร้อยละ ๖๐.๓๕ (ข้อมูลจาก HDC) จากรายงานแม้ขนาดของปัญหาลดลง แต่ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยในระดับภาคและระดับประเทศ จึงทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของเด็กแบบองค์รวมให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์ เพื่อให้ความรู้เรื่องดังกล่าวแก่ผู้ปกครอง และส่งเสริมพัฒนาเด็กวัย ๐-๕ ปี ในเรื่องการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าระวังฟัน และวัคซีน เพื่อสร้างเด็กให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมตามวัย เป็นพลเมืองสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์ ตำบลตันหยงลุโละ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 126 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 39 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๘.๑ ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐ - ๕ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม
และครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
๘.๒ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
๘.๓ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์ ตำบลตันหยงลุโละ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2561กิจกรรมที่ทำ๗.๑ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ปกครองเด็ก และอสม. จำนวน ๑๖๕ คน x ๒๕ บาท x ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑.๕.๑ ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐ - ๕ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม และครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๐ ๑.๕.๒ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๘๕ ๑.๕.๓ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๕
จัดกิจกรรมตรงกับวันศุกร์ ทำให้กลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นผู้ปกครองที่เป็นผู้ชายของเด็กที่พามาประกวด ทำให้ต้องเร่งรีบไปละหมาดวันศุกร์ จึงทำให้อยู่ในงานจัดกิจกรรมไม่จบงาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑.๕.๑ ผู้ปกครองทราบและสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐ - ๕ ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม และครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๐ ๑.๕.๒ เด็กอายุ ๐-๕ ปี มีสุขภาพที่ดีครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๘๕ ๑.๕.๓ อสม. มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก ๐ – ๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ร้อยละ ๙๕
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 165 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 126 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 39 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพเด็ก ๐-๕ ปี อย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...- การประสานงานกับเครือข่ายในชุมชนและเจ้าหน้าที่ต่างตำบลให้มีช่วงระยะเวลายาวกว่านี้ เพื่อจะได้เตรียมตัวล่วงหน้า - มีการประชาสัมพันธ์ในชุมชนให้ทั่วถึงมากขึ้น
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยสมาร์ทคิทส์ตำบลตันหยงลุโละ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 14/2561
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......