กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปี 2561
รหัสโครงการ 61-L4140-2-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยา
วันที่อนุมัติ 27 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2561 - 31 พฤษภาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 28,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประจักษ์ ทองชูใจหัวหน้าสำนักปลัด
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.ซัลมา หะยีสะมะแอ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.584,101.162place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การจมน้ำเป็นสาเหตุที่ทำให้เด็กไทยเสียชีวิต ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาช่วงเดือนพฤษภาคมเป็นช่วงเดือนที่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เนื่องจากตรงกับช่วงปิดภาคเรียนองค์การบริหารส่วนตำบลลำพะยาจึงได้จัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำขึ้น เพื่อเป็นการรณรงค์ และให้ความรู้แก่ประชาชน เด็กและเยาวชน ในตำบลลำพะยาได้รู้ถึงหลักการปฎิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายในน้ำ รวมถึงแนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันระหว่างผู้ปกครองกับบุตรหลาน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตจาการจมน้ำได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด้กและเยาวชน มีจิตสำนึกในการช่วยเหลือและป้องกันเด็กจมน้ำ

เด้กและเยาวชน  มีจิตสำนึกในการช่วยเหลือและป้องกันเด็กจมน้ำได้ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อให้ประชาชน/ผู้ปกครอง ได้รับรู้ตระหนักถึงอันตรายและวิธีการป้องกันมิให้เกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ

ประชาชน/ผู้ปกครอง ได้รับรู้ตระหนักถึงอัตนตรายและวิธีการป้องกันมิให้เกิดความสูญเสียงจาการจมน้ำ ร้อยละ 90

0.00
3 เพื่อให้เด็ก เยาวชน ประชาชน ไดรู้ถึงวิธีปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายจากน้ำ

เด็ก เยาวชน ประชาชน ไดรู้ถึงวิธีปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายจากน้ำ ไร้ดร้อยละ 90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เขียนโครงการเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ
  2. ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินโครงการ
  4. ดำเนินการรวบรวมแผนงาน/โครงการ
  5. การติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้
    • ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ผืนเป็นเงิน800.- บาท

- ค่าวิทยากร ชม. ๆ ละ 600บาท เป็นเงิน 4,800.- บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่จำนวน60 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน3,000.- บาท - ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คนๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,000 .-บาท -ค่าบำรุงสถานที่ฝึกอบรมจำนวน 50 คน ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 1,000.- บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม - เชือกอ่อนตัวลอยน้ำ ขนาด 12 มม. ยาว 10 เมตรจำนวน 5 เส้น ๆ ละ 1,100บาทเป็นเงิน 5,500 บาท - แผ่นโฟม (Kick board)จำนวน10 อัน อันละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท -ค่าจ้างเหมารถพาหนะจำนวน 2คัน เป็นเงิน 6,000บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน50ชุดเป็นเงิน 1,500.- บาท (ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น28,600บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กและเยาวชนเกิดจิตสำนึก ในการช่วยกันป้องกันเด็กจมน้ำ
  2. ประชาชน/ผู้ปกครอง/เยาวชน ได้รับรู้ ตระหนักถึงอันตราย และวิธีการป้องกันมิให้เกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ เด็กและเยาวชน/ประชาชน ได้รู้ถึงวิธีปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอด เมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายในน้ำ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2561 10:25 น.