โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”
ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางปราณีแสงสมัคร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5238-02-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5238-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยในแต่ละปีมีผู้ป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนมากทำให้มี
การสูญเสียงบประมาณที่ใช้ในการรักษาอย่างมากจากรายงานทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 –31ตุลาคม 2560 มีผู้ป่วยรวมประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน43,120 ราย อัตราป่วย 65.91 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 56 รายอัตรา
ป่วยตายร้อยละ ตายร้อยละ 0.13จังหวัดสงขลา พบผู้ป่วยจำนวน 2,826 รายอัตราป่วย 200.58 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 5 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ตายร้อยละ 0.18และในพื้นที่อำเภอสทิงพระซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดเสียชีวิต 6 ราย คิดเป็น
อัตราป่วยตาย0.43 ต่อแสนประชากร พื้นที่อำเภอสทิงพระพบผู้ป่วยจำนวน 45 ราย อัตราป่วย 93.44 ต่อประชากรแสนคนซึ่งเกิน
เกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต
ในพื้นที่เขตรับผิดขอบของรพ.สต.นางเหล้าปี 2558 - ปี 2560 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย , 3 ราย และ 1 ราย
ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 40.29 ,120.20 และ 40.37 ตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ซึงในปี 2559
อัตราป่วยเกินเกณฑ์มาตรฐาน (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง และนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาใช้ประโยชน์ และสร้างมูลค่า 4 เพื่อจัดเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 5..เพื่อให้อสม.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืนหมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
1. ผลการดำเนินงาน
1.1 ผลผลิต :
- จัดเวทีประชาคมและร่วมกันหามาตรการในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดในพื้นที่หมู่ที่ 2 จำนวน 2 ครั้ง
- รณรงค์กำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยอสม.ร่วมกับอบต. ผู้นำชุมชนและแกนนำครัวเรือน จำนวน 4 ครั้ง
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือน แก่แกนนำ ครอบครัว ๆ ละ 1 คน จำนวน 244 คน ในพื้นที่หมู่ที่ 2
- จัดทำแผ่นไวนิลประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในทุกหมู่บ้าน .จำนวน 3 แผ่น
- ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ
* จัดกิจกรรมรณรงค์ในทุกหมู่บ้านจำนวน 4 ครั้งพร้อมทั้งให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม แจกแผ่นพับไข้เลือดออก
* ให้ความรู้ทางหอกระจายข่าว ในช่วงที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
- สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพและวิธีทางเคมีโดย อสม.และเจ้าของบ้าน และรายงานผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายส่งรพ.สต.เดือนละ 1 ครั้ง รวม 12 ครั้ง
- พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน 1 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ รวม 4 ครั้ง
- พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 3 ราย ๆละ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ รวม 6 ครั้ง
- เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่ พร้อมแจ้งสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน 3 ครั้ง
1.2 ผลตัวชี้วัด
1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
- ปี พ.ศ 2560 (มกราคม – กันยายน 2560) มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย อัตราป่วย
47.30 ต่อแสนปชก. มีผู้ป่วยเข้าข่ายสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน 5 ราย
-ปี พ.ศ 2561 (มกราคม – กันยายน 2561) ไม่มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก แต่มีผู้ป่วยเข้า
ข่ายสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน 3 ราย
2.เกิดมาตรการทางสังคม/ข้อตกลงในการปฏิบัติร่วมกันในหมู่บ้านเป้าหมาย (หมู่ที่2) ได้แก่.......................
3. ผลจากแบบสอบถาม..................................
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
•บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 33,940 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 33,940 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0................................. บาท คิดเป็นร้อยละ .....0...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
•ไม่มี
• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- เจ้าของบ้านบางคนไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ส่วนหนึ่งคิดว่า เป็นบทบาทหน้าที่ของอสม.รวมทั้งไม่ให้ความร่วมมือในการพ่นหมอกควัน โดยเฉพาะบ้านที่มีผู้ป่วยติดเตียง และบ้านที่เลี้ยงนก
แนวทางแก้ไข
- การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพนั้น เจ้าของบ้านต้องตระหนักถึงความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพราะยุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วและตลอดเวลา การที่จะให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรืออสม.ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายให้ทุกบ้านนั้นสามารถทำได้ แต่เป็นครั้งคราว ขาดความต่อเนื่อง
- ความร่วมมือจากเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกลดลงได้และควรมีมาตรการที่เกิดจากการการลงมติของคนในชุมชนนั้นๆ หรือเกิดจากเวทีประชาคมมาเป็นแนวทางปฎิบัติเพื่อลดปัญหาโรคไข้เลือดออก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง และนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาใช้ประโยชน์ และสร้างมูลค่า 4 เพื่อจัดเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 5..เพื่อให้อสม.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด มัสยิด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10
2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
3. อสม.และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
4. ร้อยละ 80 ของครัวเรือน มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้ถูกต้อง
5. ร้อยละ 80 ของครัวเรือนในพื้นที่ที่เกิดโรคซ้ำ
ซากหรือพื้นที่เสี่ยงสูง มีการเก็บข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง และนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาใช้ประโยชน์ และสร้างมูลค่า 4 เพื่อจัดเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 5..เพื่อให้อสม.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5238-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปราณีแสงสมัคร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 ”
ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางปราณีแสงสมัคร
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5238-02-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5238-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยในแต่ละปีมีผู้ป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนมากทำให้มี
การสูญเสียงบประมาณที่ใช้ในการรักษาอย่างมากจากรายงานทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 –31ตุลาคม 2560 มีผู้ป่วยรวมประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน43,120 ราย อัตราป่วย 65.91 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 56 รายอัตรา
ป่วยตายร้อยละ ตายร้อยละ 0.13จังหวัดสงขลา พบผู้ป่วยจำนวน 2,826 รายอัตราป่วย 200.58 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 5 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ตายร้อยละ 0.18และในพื้นที่อำเภอสทิงพระซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดเสียชีวิต 6 ราย คิดเป็น
อัตราป่วยตาย0.43 ต่อแสนประชากร พื้นที่อำเภอสทิงพระพบผู้ป่วยจำนวน 45 ราย อัตราป่วย 93.44 ต่อประชากรแสนคนซึ่งเกิน
เกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต
ในพื้นที่เขตรับผิดขอบของรพ.สต.นางเหล้าปี 2558 - ปี 2560 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย , 3 ราย และ 1 ราย
ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 40.29 ,120.20 และ 40.37 ตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ซึงในปี 2559
อัตราป่วยเกินเกณฑ์มาตรฐาน (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง และนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาใช้ประโยชน์ และสร้างมูลค่า 4 เพื่อจัดเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 5..เพื่อให้อสม.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ชื่อโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืนหมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561
1. ผลการดำเนินงาน
1.1 ผลผลิต :
- จัดเวทีประชาคมและร่วมกันหามาตรการในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดในพื้นที่หมู่ที่ 2 จำนวน 2 ครั้ง
- รณรงค์กำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยอสม.ร่วมกับอบต. ผู้นำชุมชนและแกนนำครัวเรือน จำนวน 4 ครั้ง
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือน แก่แกนนำ ครอบครัว ๆ ละ 1 คน จำนวน 244 คน ในพื้นที่หมู่ที่ 2
- จัดทำแผ่นไวนิลประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในทุกหมู่บ้าน .จำนวน 3 แผ่น
- ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ
* จัดกิจกรรมรณรงค์ในทุกหมู่บ้านจำนวน 4 ครั้งพร้อมทั้งให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม แจกแผ่นพับไข้เลือดออก
* ให้ความรู้ทางหอกระจายข่าว ในช่วงที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
- สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพและวิธีทางเคมีโดย อสม.และเจ้าของบ้าน และรายงานผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายส่งรพ.สต.เดือนละ 1 ครั้ง รวม 12 ครั้ง
- พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน 1 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ รวม 4 ครั้ง
- พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 3 ราย ๆละ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ รวม 6 ครั้ง
- เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่ พร้อมแจ้งสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน 3 ครั้ง
1.2 ผลตัวชี้วัด
1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
- ปี พ.ศ 2560 (มกราคม – กันยายน 2560) มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย อัตราป่วย
47.30 ต่อแสนปชก. มีผู้ป่วยเข้าข่ายสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน 5 ราย
-ปี พ.ศ 2561 (มกราคม – กันยายน 2561) ไม่มีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก แต่มีผู้ป่วยเข้า
ข่ายสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน 3 ราย
2.เกิดมาตรการทางสังคม/ข้อตกลงในการปฏิบัติร่วมกันในหมู่บ้านเป้าหมาย (หมู่ที่2) ได้แก่.......................
3. ผลจากแบบสอบถาม..................................
2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
•บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 33,940 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 33,940 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .......0................................. บาท คิดเป็นร้อยละ .....0...................
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
•ไม่มี
• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- เจ้าของบ้านบางคนไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ส่วนหนึ่งคิดว่า เป็นบทบาทหน้าที่ของอสม.รวมทั้งไม่ให้ความร่วมมือในการพ่นหมอกควัน โดยเฉพาะบ้านที่มีผู้ป่วยติดเตียง และบ้านที่เลี้ยงนก
แนวทางแก้ไข
- การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพนั้น เจ้าของบ้านต้องตระหนักถึงความสำคัญของการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพราะยุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วและตลอดเวลา การที่จะให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรืออสม.ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายให้ทุกบ้านนั้นสามารถทำได้ แต่เป็นครั้งคราว ขาดความต่อเนื่อง
- ความร่วมมือจากเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกลดลงได้และควรมีมาตรการที่เกิดจากการการลงมติของคนในชุมชนนั้นๆ หรือเกิดจากเวทีประชาคมมาเป็นแนวทางปฎิบัติเพื่อลดปัญหาโรคไข้เลือดออก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง และนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาใช้ประโยชน์ และสร้างมูลค่า 4 เพื่อจัดเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 5..เพื่อให้อสม.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด มัสยิด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10 2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 3. อสม.และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 4. ร้อยละ 80 ของครัวเรือน มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และสามารถคัดแยกขยะได้ถูกต้อง 5. ร้อยละ 80 ของครัวเรือนในพื้นที่ที่เกิดโรคซ้ำ ซากหรือพื้นที่เสี่ยงสูง มีการเก็บข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง และนำขยะที่ได้จากการคัดแยกมาใช้ประโยชน์ และสร้างมูลค่า 4 เพื่อจัดเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก 5..เพื่อให้อสม.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน หมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5238-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปราณีแสงสมัคร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......