กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ ปรับเปลื่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาบทิพย์ ตันติมา

ชื่อโครงการ ปรับเปลื่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลื่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลื่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC)



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลื่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 115,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งต้องเร่งแก้ไขเนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพเศรษฐกิจและปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจน จากการสำรวจข้อมูล Health Data Center ย้อนหลัง ๓ ปี(พ.ศ.๒๕๕๘ - พ.ศ.๒๕๖๐) พบว่า ประชาชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีอุบัติการณ์การเกิดโรคอ้วนลงพุงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ พ.ศ.๒๕๕๖๐  โรคที่เป็นผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน ต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ ได้แก่ ข้อเข่าเสื่อม  ภาวะอัมพฤกษ์อัมพาต ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง มะเร็งลำไส้  โรคซึมเศร้าเป็นต้น คนที่อ้วนลงพุงจะมีการสะสมของไขมันในช่องท้องมากเกินไป โดยมีเส้นรอบเอวของ  เพศชายเกิน ๓๖ นิ้ว หรือ ๙๐ เซนติเมตร เพศหญิงเกิน ๓๒ นิ้ว หรือ ๘๐ เซนติเมตร ซึ่งไขมันเหล่านี้จะ  แตกตัวเป็นกรดไขมันอิสระเข้าสู่ตับ มีผลให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่ดี เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลินซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน ปัจจุบันประชาชนในวัยทำงานส่วนใหญ่จะนั่งโต๊ะทำงานมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยไม่ค่อยมีเวลาออกกำลังกายและไม่ค่อยสนใจเรื่องอาหารเพราะมีประชุม มีอาหารว่าง มีงานเลี้ยงตอนเย็น กินไปคุยกันเรื่องงานไปรวมทั้งบริโภคอาหารหวานมัน และเค็มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจากขนมขบเคี้ยว ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มประเภทกาแฟและน้ำผลไม้ที่เติมน้ำตาลแทนการดื่มน้ำเปล่าซื้ออาหารสำเร็จรูปประเภทถุงมีวางจำหน่ายหาซื้อง่าย ราคาถูก การโฆษณาอาหารที่ให้พลังงานสูง อาหารบริการด่วนและบริการส่งถึงบ้าน ทำให้อาหารที่ให้พลังงานสูงที่นานๆ เคยได้กินทีกลายเป็นสิ่งที่กินได้ทุกวัน และในการลดน้ำหนักของประชาชน ยังมีบางกลุ่มที่ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้า ซึ่งบางคนงดอาหารเช้าแต่ดื่มกาแฟแทน ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง อาหารมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญและจำเป็นมาก ต้องรับประทาน ทุกวัน เพื่อกระจายพลังงานอาหารให้เหมาะกับความต้องการ นอกจากจะช่วยให้ร่างกายไม่หิวมากในช่วงบ่ายแล้ว ยังควบคุมปริมาณอาหารในมื้อเย็นให้กินน้อยลงได้และยังพบว่าคนไทยกินผักผลไม้น้อย โดยเฉลี่ยกินผักและผลไม้ วันละ๒๗๐กรัม ซึ่งต่ำกว่าปริมาณที่แนะนำวันละ ๔๐๐ กรัมต่อวัน และขาดการออกกำลังกาย  จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น ( กรมอนามัย ,๒๕๔๘)
ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันภาวะโภชนาการเกินหรือโรคอ้วนลงพุง ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการ เข้าใจหลัก ๓ อ. (อาหาร, ออกกำลังกาย, อารมณ์) ได้แล้วนำไปปรับใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ รวมทั้งสร้างความตระหนักถึงความสำคัญในการลดน้ำหนักตัว      เพื่อให้ประชาชนในเทศบาลนครหาดใหญ่มีสุขภาพดี และลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน    โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเรื่องโรคอ้วนลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. 2.เพื่อจัดบริการคลินิก DPAC (ลดพุง ลดโรค ) ในศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักตัวได้
  4. 4.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีรอบเอวลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.ประชาสัมพันธ์และค้นหากลุ่มเป้าหมาย
  2. 1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและวิทยากร
  3. 3.จัดอบรมในรูปแบบบรรยาย/สาธิต เรื่องการดูแลสุขภาพ โรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  4. 5.ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ
  5. 4.จัดให้บริการ คลินิก ลดพุง ลดโรค (DPAC) ทุกวันพฤหัสบดี จำนวน ๑๒ ครั้ง โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมมาใช้บริการที่ คลินิก ลดพุง ลดโรค (DPAC) รอบละ ๒๐ คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้ให้บุคคลอื่น และชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและวิทยากร

วันที่ 2 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมจัดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เกี่ยวข้องได้รับข่าวสารเกี่ยวกับโครงการและวางแผนงานการทำงานร่วมกัน

 

0 0

2. 2.ประชาสัมพันธ์และค้นหากลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีโครงการเพื่อเป็นการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

 

0 0

3. 3.จัดอบรมในรูปแบบบรรยาย/สาธิต เรื่องการดูแลสุขภาพ โรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

วันที่ 28 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมแบบบรรยาย/สาธิต เรื่องการดูแลสุขภาพโรคอ้วน/โรคไม่ติดต่อ แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ 3 กลุ่ม ฐานความรู้ดังนี้ 1.บรรยายความรู้เรื่องกินอย่างไรให้ห่างไกลโรค 2.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย 3.กิจกรรมสุขภาพจิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดีได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม -เกิดกิจกรรมต่อเนื่อง คลนิค DPAC

 

0 0

4. 4.จัดให้บริการ คลินิก ลดพุง ลดโรค (DPAC) ทุกวันพฤหัสบดี จำนวน ๑๒ ครั้ง โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมมาใช้บริการที่ คลินิก ลดพุง ลดโรค (DPAC) รอบละ ๒๐ คน

วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดให้บริการ คลินิกลดพุงลดโรค (DPAC) รอบละ 20 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดกิจกรรมต่อเนื่อง คลินิกลดพุงลดโรค (DPAC) -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

0 0

5. 5.ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

วันที่ 14 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อให้ทราบปัญหาและอุปสรรคพร้อมแนวทางการแก้ไข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
-กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพื่อการมีสุขภาพดีแบบยั่งยืน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเรื่องโรคอ้วนลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเรื่องโรคอ้วนลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 2.เพื่อจัดบริการคลินิก DPAC (ลดพุง ลดโรค ) ในศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข
ตัวชี้วัด : สามารถจัดบริการคลินิก DPAC (ลดพุง ลดโรค ) ในศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข
0.00

 

3 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักตัวได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักตัวได้ร้อยละ ๕๐
0.00

 

4 4.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีรอบเอวลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถลดรอบเอวลงได้ร้อยละ ๕๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเรื่องโรคอ้วนลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) 2.เพื่อจัดบริการคลินิก DPAC (ลดพุง ลดโรค ) ในศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักตัวได้ (4) 4.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีรอบเอวลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.ประชาสัมพันธ์และค้นหากลุ่มเป้าหมาย (2) 1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและวิทยากร (3) 3.จัดอบรมในรูปแบบบรรยาย/สาธิต เรื่องการดูแลสุขภาพ โรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (4) 5.ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ (5) 4.จัดให้บริการ คลินิก ลดพุง ลดโรค (DPAC) ทุกวันพฤหัสบดี จำนวน ๑๒ ครั้ง โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมมาใช้บริการที่ คลินิก ลดพุง ลดโรค (DPAC) รอบละ ๒๐ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับเปลื่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาบทิพย์ ตันติมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด