กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายรอซะ หะมะ

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8411-3-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-3-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สตรีที่อายุระหว่าง45 - 50 ปี คือช่วงเวลาที่อยู่ในวัยทอง นั่นหมายถึงภาวะการหมดประจำเดือนหรือระดู เนื่องจากรังไข่หยุดการผลิตฮอร์โมน และไม่สามารถมีบุตรได้อีกต่อไป สตรีหลายๆ คนมักมีอาการของวัยทองที่ส่งผลทั้งทางด้านอารมณ์ และร่างกายนายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้กล่าวถึงสตรีวัยทองในประเทศไทยที่มีประมาณ 7 ล้านคนว่า ผู้หญิงที่อยู่ในวัยทองหรือหญิงวัยหมดระดู เป็นช่วงวัยสำคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่มีผลจากการลดลงของฮอร์โมนเพศ จึงทำให้มีปัญหาสุขภาพที่แตกต่างจากวัยอื่น ผลการสำรวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในผู้หญิงไทย อายุ 45 – 59 ปี ของสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พ.ศ. 2554 พบว่า หญิงวัยทองร้อยละ 48 มีโรคประจำตัว โดย 3 อันดับแรกที่พบมาก ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ และร้อยละ 28 ของหญิงวัยทองมีความเสี่ยงสูงต่ออาการหญิงวัยทอง นอกจากนี้ยังพบภาวะอ้วนลงพุงร้อยละ 57 ด้าน รศ.พญ.อรวรรณ คีรีวัฒน์ นายกสมาคมอนามัยเจริญพันธุ์ (ไทย) กล่าวว่า การก้าวเข้าสู่วัยทองของสตรีนั้น จะมีช่วงวัยใกล้หมดประจำเดือน เป็นช่วงเวลาที่ผู้หญิงยังไม่หมดประจำเดือน หรือไม่มีประจำเดือนมาระยะเวลาหนึ่งแต่ไม่ถึง 1 ปี ช่วงวัยนี้อาจจะยาวนานถึง 6 ปีก่อนจะก้าวสู่วัยทอง โดยปรากฎอาการออกเป็นตามช่วงคือ ช่วงแรก ประจำเดือนจะมาเร็วขึ้น จากที่เคยมาทุกเดือน จะมาทุกๆ3อาทิตย์ ช่วงที่สอง ประจำเดือนจะเริ่มมาห่าง เช่น 2-3 เดือนมาครั้งนึง ช่วงที่สาม คือช่วงที่ประจำเดือนหายไปนานจนครบ 1 ปี “ระหว่างช่วงเข้าสู่วัยทอง จนหมดประจำเดือนนั้น ผู้หญิงหลายๆ คนจะมีอาการผิดปกติปรากฎ ซึ่งแต่ละคนจะแตกต่างกัน อาการวัยทองของหญิงไทยจะมีประมาณ 21 – 22 อาการ เช่น อาการร้อนวูบวาบ นอน ไม่หลับ ประจำเดือนมาไม่ปกติ มดลูกแห้ง หงุดหงิด ร่างกายอ่อนเพลีย ผมร่วงหลงลืมง่าย วิงเวียนศรีษะ ท้องอืด ปัสสาวะและขับถ่ายบ่อย ฯลฯ และหญิงไทยกับหญิงต่างประเทศก็จะมีความแตกต่างกันในเรื่องของอาการวัยทอง เนื่องจากมีระบบเมตาบอลิซึมที่ต่างกัน โดยคนไทยจะไม่ได้มีอาการด้านใดเด่นเป็นพิเศษ แต่ผู้หญิงชาวต่างประเทศมักจะมีอาการปรากฎเด่นชัด เช่น อาการร้อนวูบวาบ เป็นต้น”สำหรับการดูแลตัวเองในช่วงของวัยทองนั้น รศ.พญ.อรวรรณ แนะนำว่า ควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดการรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดโรคความดัน เบาหวาน โดยควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยอาทิตย์ละ 150 นาที ควรพักผ่อนให้เพียงพอเพื่อรักษาอารมณ์ให้เป็นปกติ และหมั่นไปตรวจสุขภาพเป็นประจำ หากสตรีวัยทองคนไหนที่มีอาการผิดปกติมากเป็นพิเศษสามารถไปพบคุณหมอ เพื่อปรึกษาอาการได้ที่คลินิกวัยทองในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง องค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการเตรียมความพร้อมสู่วัยทองเพื่อให้ประชาชนได้มีสุขภาพกายที่แข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่แจ่มใส

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทองเกี่ยวกับสาเหตุและการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ การออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต
  2. 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าสู่วัยทองในการช่วยเหลือตนเอง เพื่อสุขภาพ กาย ใจ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมและการทำกิจกรรมภายในครอบครัวและชุมชนด้วยความภาคภูมิใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเตรียมความพร้อมผู้ที่จะเข้าสู่วัยทอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาช่วงวัยทอง การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ ในสภาพแวดล้อมที่ดีและมีความสุข ๒. ผู้ที่เข้าสู่วัยทองได้สร้างความสัมพันธ์และกิจกรรมร่วมกัน ก่อให้เกิดความสุข คลายความเหงา รู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า และสามารถทำประโยชน์ให้สังคมได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเตรียมความพร้อมผู้ที่จะเข้าสู่วัยทอง

วันที่ 12 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

5.1 ขั้นเตรียม

    - ดำเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
    - ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้อง
    - ประสานงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
    - รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
    - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารต่าง ๆ

    5.2 ขั้นดำเนินการ

    - ดำเนินการจัดอบรมเตรียมความพร้อมผู้ที่จะเข้าสู่วัยทอง
    - ติดตามหลังการอบรม เพื่อดูว่าได้นำกิจกรรมไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

    5.3 ขั้นสรุปและประเมินผล

    - ประเมินผลหลังการอบรมโดยใช้แบบสอบถาม
    - ประเมินผลหลังติดตามหลังการอบรม โดยใช้แบบประเมิน
    - สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาช่วงวัยทอง การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ ในสภาพแวดล้อมที่ดีและมีความสุข ๒. ผู้ที่เข้าสู่วัยทองได้สร้างความสัมพันธ์และกิจกรรมร่วมกัน ก่อให้เกิดความสุข คลายความเหงา รู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า และสามารถทำประโยชน์ให้สังคมได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทองเกี่ยวกับสาเหตุและการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ การออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๘๐ ผู้ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมผู้ที่จะเข้าสู่วัยทองโดยใช้แบบทดสอบ
0.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าสู่วัยทองในการช่วยเหลือตนเอง เพื่อสุขภาพ กาย ใจ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมและการทำกิจกรรมภายในครอบครัวและชุมชนด้วยความภาคภูมิใจ
ตัวชี้วัด : ๒. ร้อยละ ๘๐ ผู้ที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ที่เข้าสู่วัยทองเกี่ยวกับสาเหตุและการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ การออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต  (2) 2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าสู่วัยทองในการช่วยเหลือตนเอง เพื่อสุขภาพ กาย ใจ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมและการทำกิจกรรมภายในครอบครัวและชุมชนด้วยความภาคภูมิใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเตรียมความพร้อมผู้ที่จะเข้าสู่วัยทอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8411-3-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรอซะ หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด