กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวยามีละห์ ประดู่




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8411-2-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 สิงหาคม 2561 ถึง 7 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8411-2-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 สิงหาคม 2561 - 7 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประขาขน และการพัฒนาประเทศ จากรายงานขององค์การอนามัยในปี พ.ค. 2551 พบว่าทุกปีทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิต จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประมาณ 36 ล้าน คน (ร้อยละ63) โดยประมาณร้อยละ 44 เสียชีวิตก่อนอายุ 70ปี จะเห็นได้ว่าในช่วงปีที่ผ่านมา องค์กรระดับชาติ ไม่ว่าจะเป็นองค์การอนามัยโลก องค์การสหประขาซาติ ธนาคารโลก และรัฐบาลจากประเทศต่างๆ ล้วนให้ความสำคัญต่อการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว เกิดเป็นเครือข่าย ระดับนานา,ชาติขึ้น โดย เป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์โลกในเรื่องการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ การลดอัตรา การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ร้อยละ 23 ภายในปี พ.ศ. 2568 สถานการณ์ตอนนี้บ้านกม.26นอกมีอัตราการเกิดผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของ ปีงบประมาณ 2550 มากขึ้นจากการสำรวจมีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 8 คน เพิ่มขึ้น 2 คนโรคความดันโลหิตสูง 9 คนเพิ่มขึ้น 3 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันจำนวน2 คน เพิ่มขึ้น!คนและกลุ่มเสี่ยงเป็นความดัน จำนวน 9 คน กลุ่มเสี่ยงเป็นโรคความเบาหวาน จำนวน14คน จากพฤติกรรมที่ส่งผลกระทบ อื่นๆตามมาเช่นทางด้านสุขภาพร่างกายมีโอกาสอาจเบนอัมพฤติ อัมพาตหรือติดเตียงทำให้ลนในครอบครัวมีปัญหาทางด้านเครษฐกิจทื่ต้องหาเลี้ยงคนเดียวและเพิ่มขึ้นที่ต้องรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง และอาจส่งผลกระทบการศึกษาของบุตรในครอบครัว การเกิดบัญหาทางด้านสุขภาพที่เราปฏิบัติไมถกต้องก่อเกิดภาวะแทรกซ้อน ได้ในอนาคต ดังนั้นเพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังในผู้ป่วยของขุมซนบ้านกม.26นอก จึงหาแนวทางในการให้ความรู้/ส้นฟู เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพี่อสร้างความเข้า'ใจถึง สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรค พร้อมทั้งเสริมให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอย่างเหมาะสมใช้ยาอย่างเหมาะสมรู้จักผ่อนคลายอารมณ์ และออกกำลังกายเป็นประจำ อันเป็นปัจจัยสำคัญซองการป่องกันการเกิด ภาวะแทรกซ้อน ทางขุมซนบ้านกม.26นอกจึงได้จัดทำโครงการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ ปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง เหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พื่อความรู้ให้ขุมซบตระหนักการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง
  2. 2. เพี่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  3. เพื่อลดกลุ่มเสี่ยงเกิด'โรคความดันเบาหวาน
  4. เพี่อให้กลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค
  2. กิจกรรม สารตเมนูอา-หารและเครื่องดื่มเพีรสุขภาพ'ให้แก'กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 2. กลุ่มเลี่ยงตระหนักการดูแลสุขภาพและมีความ!โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 3. ผู้,ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค

วันที่ 6 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประขุมภาคเครือข่ายใบขุมซน อสม.และเจ้าหน้าทีรพ.?เต.บ้าบกม.26บอก 2 แจ้งกลุ่มเบ้าหมายทื่มีภาวะ,สี่ยงและกลุ่มป่วยที่เป็นโรคความดันเบาหวาน เข้ารับการอบรม 3. จัดกิจกรรมอบรมใหัความรู้ 4. ประเมินผลโครงการ จากกิจกรรมอบรมโดยสรุปบทเรียบที่ได้จากการอบรม
5 ประเมินผล การดำเนินงาบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 2. กลุ่มเลี่ยงตระหนักการดูแลสุขภาพและมีความ!โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 3. ผู้,ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง

 

50 0

2. กิจกรรม สารตเมนูอา-หารและเครื่องดื่มเพีรสุขภาพ'ให้แก'กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแล

วันที่ 8 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประขุมภาคเครือข่ายใบขุมซน อสม.และเจ้าหน้าทีรพ.?เต.บ้าบกม.26บอก 2 แจ้งกลุ่มเบ้าหมายที่มีภาวะ,สี่ยงและกลุ่มป่วยที่เป็นโรคความดันเบาหวาน เข้ารับการอบรม 3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ 4. ประเมินผลโครงการ จากกิจกรรมอบรมโดยสรุปบทเรียบที่ได้จากการอบรม
5 ประเมินผล การดำเนินงาบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีความในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น 2. กลุ่มเลี่ยงตระหนักการดูแลสุขภาพและมีความ!โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 3. ผู้,ดูแลสามารถควบคุมการบริโภคอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ถูกต้อง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พื่อความรู้ให้ขุมซบตระหนักการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพี่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดกลุ่มเสี่ยงเกิด'โรคความดันเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพี่อให้กลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พื่อความรู้ให้ขุมซบตระหนักการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในการดูแลตนเอง (2) 2. เพี่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) เพื่อลดกลุ่มเสี่ยงเกิด'โรคความดันเบาหวาน (4) เพี่อให้กลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค (2) กิจกรรม สารตเมนูอา-หารและเครื่องดื่มเพีรสุขภาพ'ให้แก'กลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงลดโรค มาใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8411-2-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยามีละห์ ประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด