โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านแพรกหา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ที่อยู่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 10/2561 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 10/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 158,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ผู้ป่วยล้นเตียงในโรงพยาบาล และผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ป่วยระยะฟื้นฟูที่นอนติดเตียงและถูกให้ออกจากโรงพยาบาลมาดูแลต่อโดยเครือข่ายหมอครอบครัวหรือญาติที่บ้านมีจำนวนเพิ่มขึ้น ปี ๒๕๕๙ ตำบลแพรกหามีผู้ป่วยที่นอนติดเตียง รอการรักษาระยะสุดท้ายหรือรอการฟื้นฟู จำนวน ๑๒ คน ปี ๒๕๖๐ จำนวน ๑๘ คน และปี ๒๕๖๑ จำนวน ๑๕ คน ซึ่งเพิ่มขึ้นลดลงตามสภาวะของโรคและความสามารถในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย ซึ่งระหว่างปีผู้ป่วยเหล่านี้จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีความจำเป็นในการรักษา ฟื้นฟูและป้องกันภาวะการเกิดโรคซ้ำซ้อน เช่น
๑ เตียงปรับระดับได้ที่ ช่วยป้องกันการสำลักอาหารและเสมหะ และความสะดวกสบายของผู้ป่วยในการปรับเปลี่ยนท่าและขับถ่ายบนเตียง
๒ ที่นอนลม ใช้สำหรับป้องกันการเกิดแผลกดทับ
๓ เครื่องดูดเสมหะ ช่วยระบบหายใจ และการสำลักเสมหะ น้ำลาย ป้องกันการอุดกั้นของระบบทางเดินหายใจ
๔ ถังออกซิเจนพร้อมเกย์ ใช้สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหายใจหรือช่วยเพิ่มออกซิเจน
5 รถเข็นชนิดนั่ง ใช้สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการเดิน
ปี ๒๕๖๐ ตำบลแพรกหาได้จัดตั้งกองทุนกายอุปกรณ์ สำหรับการดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วยพิการ และผู้ป่วยติดเตียง ซึ่งร่วมกันจากหลายภาคส่วน เพื่อการบริหารจัดการอุปกรณ์สนับสนุนอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการและจำเป็นของผู้ป่วย ตามความที่ร้องขอ และในปีที่ผ่านมามีอุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยพิการ และผู้ป่วยติดเตียง ประกอบด้วย
๑ เตียงปรับระดับได้ จำนวน ๓ เตียง (งบกองทุนสุขภาพ)
๒ ที่นอนลม จำนวน ๘ ตัว (งบค่าเสื่อมและงบกองทุน)
๓ ถังออกซิเจน พร้อมเกย์ จำนวน ๓ ชุด (งบค่าเสื่อมและงบกองทุน)
๔ เครื่องดูดเสมหะ จำนวน ๒ เครื่อง (งบค่าเสื่อมและงบกองทุน)
5 รถเข็นชนิดนั่ง จำนวน ๒ คัน (ได้รับบริจาค)
อุปกรณ์ทั้งหมดไม่เพียงพอกับความต้องการเร่งด่วนของจำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เพิ่มขึ้นและรอใช้อุปกรณ์เหล่านี้ ขณะนี้มีผู้ป่วยติดเตียงมีความต้องการอุปกรณ์เร่งด่วน ดังนี้ (ข้อมูล เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑)
๑ เตียงปรับระดับได้ จำนวน ๓ เตียง
๒ ที่นอนลม จำนวน ๓ ตัว
๓ ถังออกซิเจน พร้อมเกย์ จำนวน ๑ ชุด
4 รถเข็นชนิดนั่ง จำนวน 3 คัน
ผู้ป่วยเหล่านี้หากไม่ได้ การสนับสนุนอุปกรณ์ดังกล่าว อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนทำให้ภาวการณ์เจ็บป่วยเลวลง เพิ่มค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลและเสียชีวิตได้ในระยะก่อนสมควร
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแพรกหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงอุปกรณ์ที่จำเป็น เร่งด่วนดังกล่าว โดยจัดให้มีอุปกรณ์ตามความจำเป็น เพื่อการดูแลและฟื้นฟูผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง โดยใช้กายอุปกรณ์ร่วมด้วย ตลอดจนการลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความขาดแคลนอุปกรณ์ดังกล่าวทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกันภาวะเกิดโรคซ้ำซ้อน ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์ โดยจัดให้มีการยืมกายอุปกรณ์ตามความจำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง เหมาะสมตามความจำเป็น
- มีกายอุปกรณ์ ให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้ยืมตามความจำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกันภาวะเกิดโรคซ้ำซ้อน ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์ โดยจัดให้มีการยืมกายอุปกรณ์ตามความจำเป็น
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง ไม่มีภาวะการเกิดโรคซ้ำซ้อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐
ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกันภาวะเกิดโรคซ้ำซ้อน ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์ โดยจัดให้มีการยืมกายอุปกรณ์ตามความจำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 10/2561
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( รพ.สต.บ้านแพรกหา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ”
ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านแพรกหา
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 10/2561 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 10/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 158,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแพรกหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ผู้ป่วยล้นเตียงในโรงพยาบาล และผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ป่วยระยะฟื้นฟูที่นอนติดเตียงและถูกให้ออกจากโรงพยาบาลมาดูแลต่อโดยเครือข่ายหมอครอบครัวหรือญาติที่บ้านมีจำนวนเพิ่มขึ้น ปี ๒๕๕๙ ตำบลแพรกหามีผู้ป่วยที่นอนติดเตียง รอการรักษาระยะสุดท้ายหรือรอการฟื้นฟู จำนวน ๑๒ คน ปี ๒๕๖๐ จำนวน ๑๘ คน และปี ๒๕๖๑ จำนวน ๑๕ คน ซึ่งเพิ่มขึ้นลดลงตามสภาวะของโรคและความสามารถในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย ซึ่งระหว่างปีผู้ป่วยเหล่านี้จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีความจำเป็นในการรักษา ฟื้นฟูและป้องกันภาวะการเกิดโรคซ้ำซ้อน เช่น
๑ เตียงปรับระดับได้ที่ ช่วยป้องกันการสำลักอาหารและเสมหะ และความสะดวกสบายของผู้ป่วยในการปรับเปลี่ยนท่าและขับถ่ายบนเตียง
๒ ที่นอนลม ใช้สำหรับป้องกันการเกิดแผลกดทับ
๓ เครื่องดูดเสมหะ ช่วยระบบหายใจ และการสำลักเสมหะ น้ำลาย ป้องกันการอุดกั้นของระบบทางเดินหายใจ
๔ ถังออกซิเจนพร้อมเกย์ ใช้สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหายใจหรือช่วยเพิ่มออกซิเจน
5 รถเข็นชนิดนั่ง ใช้สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการเดิน
ปี ๒๕๖๐ ตำบลแพรกหาได้จัดตั้งกองทุนกายอุปกรณ์ สำหรับการดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วยพิการ และผู้ป่วยติดเตียง ซึ่งร่วมกันจากหลายภาคส่วน เพื่อการบริหารจัดการอุปกรณ์สนับสนุนอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการและจำเป็นของผู้ป่วย ตามความที่ร้องขอ และในปีที่ผ่านมามีอุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยพิการ และผู้ป่วยติดเตียง ประกอบด้วย
๑ เตียงปรับระดับได้ จำนวน ๓ เตียง (งบกองทุนสุขภาพ)
๒ ที่นอนลม จำนวน ๘ ตัว (งบค่าเสื่อมและงบกองทุน)
๓ ถังออกซิเจน พร้อมเกย์ จำนวน ๓ ชุด (งบค่าเสื่อมและงบกองทุน)
๔ เครื่องดูดเสมหะ จำนวน ๒ เครื่อง (งบค่าเสื่อมและงบกองทุน)
5 รถเข็นชนิดนั่ง จำนวน ๒ คัน (ได้รับบริจาค)
อุปกรณ์ทั้งหมดไม่เพียงพอกับความต้องการเร่งด่วนของจำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เพิ่มขึ้นและรอใช้อุปกรณ์เหล่านี้ ขณะนี้มีผู้ป่วยติดเตียงมีความต้องการอุปกรณ์เร่งด่วน ดังนี้ (ข้อมูล เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑)
๑ เตียงปรับระดับได้ จำนวน ๓ เตียง
๒ ที่นอนลม จำนวน ๓ ตัว
๓ ถังออกซิเจน พร้อมเกย์ จำนวน ๑ ชุด
4 รถเข็นชนิดนั่ง จำนวน 3 คัน
ผู้ป่วยเหล่านี้หากไม่ได้ การสนับสนุนอุปกรณ์ดังกล่าว อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนทำให้ภาวการณ์เจ็บป่วยเลวลง เพิ่มค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลและเสียชีวิตได้ในระยะก่อนสมควร
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแพรกหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงอุปกรณ์ที่จำเป็น เร่งด่วนดังกล่าว โดยจัดให้มีอุปกรณ์ตามความจำเป็น เพื่อการดูแลและฟื้นฟูผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง โดยใช้กายอุปกรณ์ร่วมด้วย ตลอดจนการลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความขาดแคลนอุปกรณ์ดังกล่าวทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกันภาวะเกิดโรคซ้ำซ้อน ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์ โดยจัดให้มีการยืมกายอุปกรณ์ตามความจำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง เหมาะสมตามความจำเป็น
- มีกายอุปกรณ์ ให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้ยืมตามความจำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกันภาวะเกิดโรคซ้ำซ้อน ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์ โดยจัดให้มีการยืมกายอุปกรณ์ตามความจำเป็น ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง ไม่มีภาวะการเกิดโรคซ้ำซ้อน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐๐ ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดเตียง และผู้พิการได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกันภาวะเกิดโรคซ้ำซ้อน ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงได้เข้าถึงกายอุปกรณ์ โดยจัดให้มีการยืมกายอุปกรณ์ตามความจำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันภาวะเจ็บป่วยซ้ำซ้อนในผู้ป่วยผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 10/2561
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( รพ.สต.บ้านแพรกหา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......