โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน ”
กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสราวุธ เพ็งปราค์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน
ที่อยู่ กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3328-02-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน " ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3328-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันปริมาณขยะได้เพิ่มจำนวนมากขึ้น ซึ่งมาจากการดำรงชีพของคนในชุมชน จึงเป็นภาระรับผิดชอบของเทศบาลตำบลเขาหัวช้างในการจัดการขยะ ปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นทุกวันส่งผลให้มีขยะตกค้างจำนวนมากและเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ การปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน แหล่งน้ำอันปัญสาเหตุของปัญหา เป็นแหล่งก่อเกิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควันจากการเผาขยะและก๊าชมีเทนจากการฝังกลบขยะ ขยะบางชนิดกำจัดยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม
กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม ร่วมกับผู้นำทุกภาคส่วนจะจัดกิจกรรมเพื่อปัญหาขยะในชุมชนจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชนุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
- เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท
- เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้เด็กและเยาวชน ประชาชนในหมู่บ้านมีจิตสำนึกในการดูแลและรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
- ทำให้ปริมาณขยะลดลง
- ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
0.00
2
เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ในหมู่บ้านมีปริมาณขยะลดลงและสามารถควบคุมแฟหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค
0.00
3
เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ของประชาชนในหมู่บ้านมีกาีรคัดแยกขยะและนำไปสู่การตั้งกลุ่มการจัดการขยะที่ยั่งยืน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน (2) เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท (3) เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3328-02-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสราวุธ เพ็งปราค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน ”
กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสราวุธ เพ็งปราค์
กันยายน 2561
ที่อยู่ กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3328-02-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน " ดำเนินการในพื้นที่ กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม หมู่ที่ 7 ตำบลตะดหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3328-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันปริมาณขยะได้เพิ่มจำนวนมากขึ้น ซึ่งมาจากการดำรงชีพของคนในชุมชน จึงเป็นภาระรับผิดชอบของเทศบาลตำบลเขาหัวช้างในการจัดการขยะ ปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นทุกวันส่งผลให้มีขยะตกค้างจำนวนมากและเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ การปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน แหล่งน้ำอันปัญสาเหตุของปัญหา เป็นแหล่งก่อเกิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควันจากการเผาขยะและก๊าชมีเทนจากการฝังกลบขยะ ขยะบางชนิดกำจัดยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม กลุ่มจัดการขยะบ้านควนอินนอโม ร่วมกับผู้นำทุกภาคส่วนจะจัดกิจกรรมเพื่อปัญหาขยะในชุมชนจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชนุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
- เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท
- เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทำให้เด็กและเยาวชน ประชาชนในหมู่บ้านมีจิตสำนึกในการดูแลและรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
- ทำให้ปริมาณขยะลดลง
- ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ในหมู่บ้านมีปริมาณขยะลดลงและสามารถควบคุมแฟหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ของประชาชนในหมู่บ้านมีกาีรคัดแยกขยะและนำไปสู่การตั้งกลุ่มการจัดการขยะที่ยั่งยืน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน (2) เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท (3) เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของทุกคน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3328-02-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสราวุธ เพ็งปราค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......