กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น


“ โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย ”

ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายธนาพัฒน์ หัดเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย

ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5187-02-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5187-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะ เศษวัสดุ ของเสีย มีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการขยายตัวของเมือง การพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ออำนวยความสะดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น หาใช้วิธีการกำจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น น้ำเสียจากขยะ ที่มีความสกปรกมีเชื้อโรค หากน้ำจากขยะรั่วไหลปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม เป็นผลให้เกิดอันตรายและเกิดมลพิษ การเอาขยะไปเทกองรวมกัน จะทำให้น้ำซึมลงสู่ใต้ดินในที่สุดก็ไปปนเปื้อนกับน้ำใต้ดิน เกิดปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของชาวบ้านที่บริโภคน้ำ นอกจากนี้ขยะมูลฝอยยังก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ หากนำขยะไปกองรวมกัน จะเกิดการหมักโดยจุลินทรีย์ในกองขยะจะเกิดก๊าซต่างๆ เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม หากไม่มีการกำจัดขยะอย่างเหมาะสม ก๊าซที่เกิดขึ้นในอากาศ เช่น ก๊าซมีเทน คาร์บอนไดออกไซค์ และยังมีฝุ่นละอองจากกองขยะ ก่อให้เกิดปัญหากับระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง แก่ประชาชน ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบอีกหลายประการคือ 1. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและภาหะของโรค เช่น แมลงวัน หนู แมลงสาบ ยุง เป็นบ่อเกิดของโรค เช่น โรคตับอักเสบ ไทฟอยด์ ไข้เลือดออก โรคทางเดินอาหาร และหากเป็นขยะมูลฝอยพวกของเสียอันตราย ถ้าขาดการกำจัดที่เหมาะสมจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ได้รับสารพิษที่มากับขยะอันตราย 2. นอกจากนี้ขยะยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นมลพิษทางน้ำ มลพิษทางดิน และมลพิษทางอากาศ เพราะขาดการเก็บรวบรวมและกำจัดขยะอย่างถูกวิธี ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ การหาวิธีการลดปริมาณขยะ โดยคำนึงถึงความจำเป็นที่จะต้องใช้ถังขยะเหล่านี้อย่างรู้คุณค่าและมองว่าขยะคือทรัพยากรธรรมชาติอย่างหนึ่งของโลก
อย่างไรก็ตามเพื่อให้เกิดการพัฒนารูปแบบการจัดการขยะภายในเขต ตำบลสะพานไม้แก่น ให้มีความยั่งยืน ครบวงจร และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงได้นำทฤษฎี 3Rsมาประยุคใช้ได้แก่น Reduce (ลดการใช้) ,Reuse (การใช้ซ้ำ) และ Recycle (นำกลับมาใช้ใหม่) ให้เข้ากับบริบทของพื้นที่ อบต.สะพานไม้แก่น มีเป้าหมายสูงสุด คือ ส่งเสริมให้มีการลด คัดแยก และนำมาใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น เช่น การคัดแยกและนำกลับคืนขยะรีไซเคิล การใช้ประโยชน์วัสดุรีไซเคิลแต่ละประเภทในรูปแบบการใช้ซ้ำ และการแปรรูปใหม่ รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ในรูปแบบของปุ๋ยหมัก และก๊าซชีวภาพ รวมทั้งการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ หลักการคัดแยกขยะ จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมให้มีความรู้อย่างละเอียดและศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่จริง โดยร่วมกับ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่นและในการดำเนินโครงการนี้จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากส่วนราชการ ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น ในการที่จะสร้างความเข้าใจและรับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ตลอดจนร่วมกำหนดแนวทางร่วมสร้าง “ต้นแบบ” เพื่อให้ อบต.เกิดระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพมีสภาพแวดล้อมที่ดี อันนำสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ตำบลสะพานไม้แก่นมีระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมแกนนำหมู่บ้านในการระดมความคิดเห็นเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย
  2. กิจกรรมรณรงค์การรักษาความสะอาด
  3. กิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ
  4. กิจกรรมทำน้ำหมักชีวภาพ/ปุ๋ยหมัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 243
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หน่วยงานราชการ สถานประกอบการ และประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับการการดูแลสุขภาพ การคัดแยกขยะและรีไซเคิลขยะ
  2. มีการกำจัดขยะมูลฝอยถูกวิธี พื้นที่ขยะหมักหมมลดลง
  3. ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์
  4. ลดปัญหาสุขภาพของประชาชนที่มีสามเหตุจากขยะมูลฝอย
  5. ตำบลสะพานไม้แก่นมีระบบบริการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพขึ้นและประชาชนสุขภาพดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ หมู่ที่ 1- 8 ตำบลสะพานไม้แก่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายทราบถึงการคัดแยกขยะมากยิ่งขึ้น

 

243 0

2. กิจกรรมรณรงค์การรักษาความสะอาด

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายไวนิลโครงไม้ จำนวน 8 หมู่บ้านๆละ 1 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในตำบลสะพานไม้แก่นตะหนักถึงการรักษาความสะอาดในพื้นที่

 

0 0

3. กิจกรรมทำน้ำหมักชีวภาพ/ปุ๋ยหมัก

วันที่ 18 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมทำน้ำหมักชีวภาพ/ปุ๋ยหมักให้กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 243 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการทำน้ำหมักชีวภาพ/ปุ๋ยหมัก

 

243 0

4. กิจกรรมประชุมแกนนำหมู่บ้านในการระดมความคิดเห็นเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย

วันที่ 20 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำหมู่บ้านในการระดมความคิดเห็นเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมแกนนำหมู่บ้านมีความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอยมากยิ่งขึ้นและสามารถนำไปเผยแพร่แก่ประชาชนในชุมชน

 

122 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินการโครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย ทำให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านการจัดการขยะ เช่น การคัดแยกขยะ การนำขยะมารีไซเคิล การทำปุ๋ยหมักไว้ใช้ในครัวเรือน การกำจัดขยะมูลฝอยถูกวิธี ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด และเพิ่มประสิทธิภาพการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปัญหาสุขภาพของประชาชน ที่มีสาเหตุจากขยะมูลฝอย มีระบบบริการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพขึ้นและประชาชนสุขภาพดี และยังนำความรู้ที่ได้จากโครงการไปเผยแพร่แก่ประชาชนภายในตำบลสะพานไม้แก่น ซึ่งจะทำให้ตำบลสะพานไม้แก่นสะอาด ลดปริมาณขยะในชุมชนสุขภาพของประชาชนดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ตำบลสะพานไม้แก่นมีระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ตำบลสะพานไม้แก่นมีระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ
243.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 243
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 243
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ตำบลสะพานไม้แก่นมีระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมแกนนำหมู่บ้านในการระดมความคิดเห็นเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย (2) กิจกรรมรณรงค์การรักษาความสะอาด (3) กิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ (4) กิจกรรมทำน้ำหมักชีวภาพ/ปุ๋ยหมัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย

รหัสโครงการ 61-L5187-02-09 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2561 - 31 ธันวาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
  • มีการอบรมคัดแยกขยะ
  • มีการรณรงค์รักษาความสะอาด
  • มีการจัดทำน้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร ผัก ผลไม้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  • มีการจัดการขยะต้นทาง
  • มีการทำน้ำหมักชีวภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีกลุ่มธนาคารขยะ และมีคณะกรรมการจัดการขยะของแต่ละหมู่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการจัดการขยะโดยการคัดแยกขยะและนำขยะมาทำน้ำหมักชีวภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการจัดทำธนาคารขยะภายในหมู่บ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ลดปริมาณขยะและมีรายได้จากการขายขยะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรวมพลังชุมชน ร่วมลดขยะมูลฝอย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5187-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนาพัฒน์ หัดเจริญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด