กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชน
รหัสโครงการ 61-L3328-02-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 2
วันที่อนุมัติ 5 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,704.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประเสริฐ ดำหนู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านหัวช้าง หมู่ที่ 2 ตำบลตะโหมดอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันปริมาณขยะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นสาเหตุมาจากการดำรงชีพของคนในชุมชน ส่งผลให้ขยะตกค้างเป็นจำนวนมากส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค การปนเปื้อนของสารพิษ ขยะบางชนิดไม่สามารถย่อยสลาย ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านหัวช้าง หมู่ที่ 2 ร่วกับทุกภาคส่วนในพื้นที่คิดจะดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน จึงดำเนินจัดกิจกรรมการจัดการขยะให้ถูกวิธีเพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่ดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน

ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน

0.00
2 เพื่อรณรงค์การลดปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะซึ่งเป็นบ่อเกิดของโรคบางประเภท

ร้อยละ80 ในหมู่บ้านมีปริมาณขยะในพื้นที่สาธารณะลดลงและสามารถควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค

0.00
3 เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีดว้ยการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน

ร้อยละ 80 ของประชาชนในหมู่บ้านมีการคัดแยกขยะและนำไปสู่การจัดการขยะอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะให้ถูกวิธีให้เด็กและเยาวชนและประชาชนในพื้นที่
  2. จัดกิจกรรมเดินรณรงค์และเก็บขยะบริเวณที่สาธารณะในพื้นที่หมู่บ้าน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ มีจิตใต้สำนึกในการดูแลรักษาความสะอาดในหมู่บ้าน
  2. ทำให้ปริมาณขยะลดลง
  3. ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2561 16:13 น.