กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง


“ โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ”

ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิทยา บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5191-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5191-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากขยะในทุกวันนี้ในทุกวันนี้ คนไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14 ล้านตันต่อปี แต่ความสามารถในการจัดเก็บขยะ มีไม่ถึง 70% ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่างๆ หรือการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้น ซึ่งไม่ถูกตามหลักสุขาภิบาล ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น อากาศเสีย เกิดปัญหาสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้ำ เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค เช่น ยุง หนู แมลงสาบ ฯลฯ ซึ่งพาหะของโรคติดต่อหลายชนิด นอกจากนี้ ขยะยังเป็นเหตุรำคาญและความไม่น่าดู ทำให้มีกลิ่นเหม็น สาเหตุ เนื่องจากประชากรในประเทศมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มมากขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น ทำให้เกิดปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ จึงมีขยะตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมาก บ้านตูหยง หมู่ที่ 2 ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา เป็นหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลปากบาง ซึ่งยังไม่มีระบบการเก็บขนขยะ เพื่อกำจัดอย่างครบวงจร ดังนั้น บ้านตูหยง ซึ่งมีปัญหาขยะเกือบร้อยละ 90 ของหลังคาเรือน ยังไม่มีระบบการคัดแยกขยะที่เข้มแข็งทำให้ขยะเต็มข้างถนน และไม่มีการคัดแยกและทำลาย ณ แหล่งกำเนิดขยะในครัวเรือน และยังไม่มีระบบการคัดแยกตามหลัก 3Rs ดังนั้น คณะกรรมการหมู่บ้านตูหยง หมู่ที่ 2 จึงจัดทำโครงการ หมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ขึ้น เพื่อเป็นกลไกวิธีหนึ่งในการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน
  2. เพื่อลดปริมาณขยะก่อนเข้ามาสู่กระบวนการกำจัด โดยการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำเชื้อโรคติดต่อ ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การพัฒนาระบบและกลไกด้านการจัดการขยะ จัดตั้งจุดรวบรวมขยะชุมชน
  2. การรณรงค์ให้ความรู้ พัฒนาทักษะการจัดการขยะให้กับประชาชน เยาวชน และนักเรียน การคัดแยกขยะ การลดการใช้โฟมและพลาสติก
  3. การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ จัดตั้งกลุ่มต่างๆ การพัฒนาปรับภูมิทัศน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่มีความรู้และจิตสำนึกในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน
  2. สามารถลดปริมาณขยะก่อนเข้าสู่กระบวนการเก็บขน กำจัด มีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  4. ลดแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค เช่น หนู แมลงสาบ ยุง ฯลฯ และลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนครัวเรือนมีการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพิ่มขึ้น
80.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะก่อนเข้ามาสู่กระบวนการกำจัด โดยการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวแทนครัวเรือนที่มีส่วนร่วมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
90.00

 

4 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำเชื้อโรคติดต่อ ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อลดลงหรือหมดไป ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ของสัตว์พาหะนำโรค
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้ความรู้ สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการบริหารจัดการขยะในครัวเรือน (2) เพื่อลดปริมาณขยะก่อนเข้ามาสู่กระบวนการกำจัด โดยการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในชุมชน (4) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำเชื้อโรคติดต่อ ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาระบบและกลไกด้านการจัดการขยะ จัดตั้งจุดรวบรวมขยะชุมชน (2) การรณรงค์ให้ความรู้ พัฒนาทักษะการจัดการขยะให้กับประชาชน เยาวชน และนักเรียน การคัดแยกขยะ การลดการใช้โฟมและพลาสติก (3) การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ จัดตั้งกลุ่มต่างๆ การพัฒนาปรับภูมิทัศน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านตูหยง ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5191-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิทยา บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด