โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านท่าแลหลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L8010-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพร่างกายที่ดีของเยาวชนเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นส่วนช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยให้แก่นักเรียน และเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนเป็นผู้ที่รักษ์สุขภาพ เป็นผู้มีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ซึ่งสุขบัญญัติ ๑๐ ประการประกอบไปด้วย
๑. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
๒. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี
๓. ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่าย
๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด
๕. งดสูบบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสำส่อนทางเพศ
๖. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
๗. ป้องกันอุบัติเหตุด้วยการไม่ประมาท
๘. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพประจำปี
๙. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
๑๐. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
สุขภาพกับการศึกษา ต้องดำเนินการควบคู่กันไปในลักษณะเกื้อกูลซึ่งกันและกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อเด็กนักเรียนและเยาวชน การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นการพัฒนาที่มีความครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ให้สามารถนำความรู้ และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยการดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมสภาวการณ์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะนักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติ ฝึกทักษะและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย ทำให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ในปัจจุบันการส่งเสริมสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและมีความสามารถในการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องอาศัยความรู้เบื้องต้นด้านสุขภาพอนามัยเพื่อดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้นโรงเรียนจึงต้องได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากชุมชน และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ด้วยสิ่งเหล่านี้มุ่งเน้นการพัฒนานักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้น และศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งการการดำเนินการในปีที่ผ่านมา โรงเรียนบ้านท่าแลหลาได้ดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนมาอย่างต่อเนื่อง สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล และกำลังก้าวไปสู่การรับรองให้เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน
- เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนไว้ใช้เอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน
๒. นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้
๓. นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาด และนำไปใช้ในครัวเรือนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเด็กไทยฟันดี
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันกับนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าแลหลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 160 คน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลละงู มาให้ความรู้แก่นักเรียน เช่น การแปรงฟันอย่างถูกวิธี โรคในช่องปาก การรับประทานอาหารที่เป็นอันตรายต่อฟัน พร้อมสาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธี และติดตามผลสู่บ้านนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จากการประเมินผลการทดสอบก่อนการอบรมและหลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้ ร้อยละ 62.18 แต่หลังจากได้มีการอบรมให้ความรู้แล้วพบว่า มีระดับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 85.73 จากการประเมินผลความรู้เป็นตัวชี้วัดได้ว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในช่องปากของตนเอง ทั้งเรื่องของวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี เรื่องโรคในช่องปากและฟันและเรื่องของการเลือกรับประทานอาหารว่างที่มีประโยชน์ อีกทั้งเมื่อประเมินทักษะการแปรงฟันด้วยสีย้อมฟัน Ezy Gel เพื่อประเมินนักเรียนว่าสามารถแปรงฟันได้สะอาดหรือไม่ จากการประเมินนักเรียนส่วนใหญ่ ร้อยละ 80 มีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและสามารถแปรงฟันได้สะอาด อีกทั้งทางโรงเรียนได้ทำแบบประเมินติดตามการแปรงฟันของนักเรียนไปยังผู้ปกครองในการกวดขันการแปรงฟันในตอนเช้าและก่อนนอนด้วย จากการติดตามผลการแปรงฟัน พบว่านักเรียนแปรงฟันตอนเช้า ร้อยละ 87 และแปรงฟันก่อนนอน ร้อยละ 65
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 95 คน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลละงู มาให้ความรู้เกี่ยวกับการนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น การทำโลชั่นกันยุง การทำยาหม่องตะไคร้หอม และสเปรย์ฉีดกันยุง จากการประเมินผลการทดสอบความรู้ก่อนการอบรมและหลังการอบรม พบว่า นักเรียนมีความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 50.2 และหลังการอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรเพื่อสุขภาพ พบว่า นักเรียนมีความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 75.4 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น และจากการประเมินในภาพรวม พบว่า นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทั้งช่วยกันทำโลชั่นกันยุง การทำยาหม่องตะไคร้หอม และการทำสเปรย์ฉีดกันยุง ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาวิชาการและมีทักษะด้วยการลงมือปฏิบัติ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือน
จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 95 คน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลละงู มาให้ความรู้ขั้นตอนและวิธีการทำผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือน และนำผลผลิตที่ได้มาใช้ทำความสะอาดในครัวเรือน เช่น การทำน้ำยาล้างจาน แชมพูสระผม สบู่เหลวล้างมือ จากการประเมินผลการทดสอบความรู้และทักษะการทำผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือน พบว่า นักเรียนมีความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 60.2 และนักเรียนมีความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 86.45
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน
2
เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้
3
เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนไว้ใช้เอง
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาด และนำไปใช้ในครัวเรือนได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน (2) เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ (3) เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนไว้ใช้เอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนบ้านท่าแลหลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านท่าแลหลา
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L8010-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพร่างกายที่ดีของเยาวชนเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นส่วนช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นการส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยให้แก่นักเรียน และเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนเป็นผู้ที่รักษ์สุขภาพ เป็นผู้มีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ซึ่งสุขบัญญัติ ๑๐ ประการประกอบไปด้วย ๑. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด ๒. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี ๓. ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่าย ๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด ๕. งดสูบบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสำส่อนทางเพศ ๖. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น ๗. ป้องกันอุบัติเหตุด้วยการไม่ประมาท ๘. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพประจำปี ๙. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ ๑๐. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม สุขภาพกับการศึกษา ต้องดำเนินการควบคู่กันไปในลักษณะเกื้อกูลซึ่งกันและกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดต่อเด็กนักเรียนและเยาวชน การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นการพัฒนาที่มีความครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ให้สามารถนำความรู้ และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยการดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมสภาวการณ์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะนักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติ ฝึกทักษะและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย ทำให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ในปัจจุบันการส่งเสริมสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและมีความสามารถในการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องอาศัยความรู้เบื้องต้นด้านสุขภาพอนามัยเพื่อดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้นโรงเรียนจึงต้องได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากชุมชน และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ด้วยสิ่งเหล่านี้มุ่งเน้นการพัฒนานักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้น และศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งการการดำเนินการในปีที่ผ่านมา โรงเรียนบ้านท่าแลหลาได้ดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนมาอย่างต่อเนื่อง สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล และกำลังก้าวไปสู่การรับรองให้เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน
- เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนไว้ใช้เอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน ๒. นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ๓. นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาด และนำไปใช้ในครัวเรือนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเด็กไทยฟันดี
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันกับนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าแลหลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 160 คน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลละงู มาให้ความรู้แก่นักเรียน เช่น การแปรงฟันอย่างถูกวิธี โรคในช่องปาก การรับประทานอาหารที่เป็นอันตรายต่อฟัน พร้อมสาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธี และติดตามผลสู่บ้านนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จากการประเมินผลการทดสอบก่อนการอบรมและหลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความรู้ ร้อยละ 62.18 แต่หลังจากได้มีการอบรมให้ความรู้แล้วพบว่า มีระดับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 85.73 จากการประเมินผลความรู้เป็นตัวชี้วัดได้ว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในช่องปากของตนเอง ทั้งเรื่องของวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี เรื่องโรคในช่องปากและฟันและเรื่องของการเลือกรับประทานอาหารว่างที่มีประโยชน์ อีกทั้งเมื่อประเมินทักษะการแปรงฟันด้วยสีย้อมฟัน Ezy Gel เพื่อประเมินนักเรียนว่าสามารถแปรงฟันได้สะอาดหรือไม่ จากการประเมินนักเรียนส่วนใหญ่ ร้อยละ 80 มีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องและสามารถแปรงฟันได้สะอาด อีกทั้งทางโรงเรียนได้ทำแบบประเมินติดตามการแปรงฟันของนักเรียนไปยังผู้ปกครองในการกวดขันการแปรงฟันในตอนเช้าและก่อนนอนด้วย จากการติดตามผลการแปรงฟัน พบว่านักเรียนแปรงฟันตอนเช้า ร้อยละ 87 และแปรงฟันก่อนนอน ร้อยละ 65
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 95 คน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลละงู มาให้ความรู้เกี่ยวกับการนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น การทำโลชั่นกันยุง การทำยาหม่องตะไคร้หอม และสเปรย์ฉีดกันยุง จากการประเมินผลการทดสอบความรู้ก่อนการอบรมและหลังการอบรม พบว่า นักเรียนมีความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 50.2 และหลังการอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรเพื่อสุขภาพ พบว่า นักเรียนมีความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 75.4 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น และจากการประเมินในภาพรวม พบว่า นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทั้งช่วยกันทำโลชั่นกันยุง การทำยาหม่องตะไคร้หอม และการทำสเปรย์ฉีดกันยุง ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาวิชาการและมีทักษะด้วยการลงมือปฏิบัติ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือน
จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 95 คน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลละงู มาให้ความรู้ขั้นตอนและวิธีการทำผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือน และนำผลผลิตที่ได้มาใช้ทำความสะอาดในครัวเรือน เช่น การทำน้ำยาล้างจาน แชมพูสระผม สบู่เหลวล้างมือ จากการประเมินผลการทดสอบความรู้และทักษะการทำผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือน พบว่า นักเรียนมีความรู้ก่อนการอบรม ร้อยละ 60.2 และนักเรียนมีความรู้หลังการอบรม ร้อยละ 86.45
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน ตัวชี้วัด : นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน |
|
|||
2 | เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ ตัวชี้วัด : นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ |
|
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนไว้ใช้เอง ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาด และนำไปใช้ในครัวเรือนได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน (2) เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องสมุนไพร และสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ (3) เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำน้ำยาทำความสะอาดในครัวเรือนไว้ใช้เอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กท่าแลหลาสุขภาพดี ชีวีปลอดภัย จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60-L8010-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนบ้านท่าแลหลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......