โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60L8010-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60L8010-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,296.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัยเด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และการอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาหารเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกำลังกาย การดูแลความสะอาดของร่างกายการป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ หลักเลี่ยงสิ่งเสพติดให้โทษ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชนในโอกาสต่อไปได้
ซึ่งทางโรงเรียนบ้านตูแตหรำจะดำเนินทำโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาสุขภาพ นักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งการดำเนินการในปีที่ผ่านมาโรงเรียนได้ร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลดำเนินการโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้วยสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และสามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพนักเรียน ส่งผลให้โรงเรียนบ้านตูแตหรำมีสุขภาพที่ดีขึ้น
ในปี ๒๕๕๙ ถึง ปี ๒๕๖๐นอกจากโรงเรียนจะดำเนินการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนตามตัวชี้วัดแล้วโรงเรียนจะเน้นกระบวนการของกิจกรรมให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการวัดผลทางสุขภาพและพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งการดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพได้นั้นโรงเรียนจะต้องได้รับความร่วมมือ และสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ
ภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
- เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
- เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
๒. เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
๓. มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
๔. นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษามีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาโรงเรียน
๕. นักเรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปอาหารได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนรายบุคคล
จากการดำเนินกิจกรรม (กำจัดเหาในโรงเรียน) พบว่า นักเรียนที่เป็นเหาประมาณ ร้อยละ 55 ในการจัดกิจกรรมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับที่ดีมากและดี คิดเป็นร้อยละ 92.38 ในหัวข้อความร่วมมือของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 98.10 มีความรู้ ความเข้าใจในการกำจัดเหา สรุป พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมดังกล่าว คิดเป็นร้อยละ 93.10 และนักเรียนสามารถที่จะรักษาเหาของตัวเองที่บ้านได้
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี
ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจาก ไม่ได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลละงู
กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
จากการสำรวจนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน และได้แนะนำผู้ปกครองและนักเรียนในการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ทำให้นักเรียนเข้าใจที่จะทำตามนักโภชนาการแนะนำ ทำให้นักเรียนที่มีสภาวะทุพโภชนาการ เริ่มลดลงแต่ยังไม่ประสบความสำเร็จมาก ด้านความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมนี้ ในด้านนักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ร้อยละ 92.45 จำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลง ร้อยละ 72.23 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องโภชนาการไปใช้เลือกซื้ออาหารรับประทาน ร้อยละ 93.07 นักเรียนที่สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 86.10 โดยสรุปกิจกรรมนี้มีความพึงพอใจเฉลี่ยร้อยละ 86.62
กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมเด็กไทยฟันดี (ตูแตหรำวัยใส ฟันสวย)(กิจกรรมต่อเนื่อง)
จากการดำเนินการของกิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง พบว่า นักเรียนรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี การใช้ยาสีฟันที่เหมาะสมกับวัย จากการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนในด้านต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้ การให้ความรู้ของครู คิดเป็นร้อยละ 96.42 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาฟัน คิดเป็นร้อยละ 94.27 มีความต้องการในการจัดกิจกรรมแบบนี้อีก คิดเป็นร้อยละ 96.42 โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 93.63
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมสุขาน่าใช้
จากผลการดำเนินงานกิจกรรมสุขาน่าใช้ นักเรียนสามารถที่จะทำจุลินทรีย์ทำความสะอาดสุขา พบว่า นักเรียนร้อยละ 88.24 มีความพึงพอใจในความสะอาดของสุขาที่ใช้จุลินทรีย์ในการทำความสะอาด นักเรียนร้อยละ 86.55 มีความพึงพอใจบรรยากาศในห้องส้วม นักเรียนร้อยละ 89.08 มีความพึงพอใจความสะอาดบริเวณภายในห้องส้วม นักเรียนร้อยละ 95.80 โดยสรุปภาพรวมในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ นักเรียนมีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 88.91
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมสร้างสุขภาพ (กิจกรรมต่อเนื่อง)
จากการดำเนินการกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพ (ตารางเก้าช่อง) นักเรียนมีความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านความเหมาะสมในการทำกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 93.28 ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 94.12 ด้านส่งผลดีต่อสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 98.32 สามารถนำไปสู่ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 96.94 และด้านนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 95.80 สรุปความพึงพอใจทั้งกิจกรรม คิดเป็น 93.45
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
จากการให้ความรู้ของน้ำดื่มสมุนไพร ทำให้นักเรียนรู้จักเลือกดื่มน้ำเพื่อสุขภาพได้มากขึ้น นักเรียนได้รับความรู้ ร้อยละ 87.62 ส่งผลดีต่อสุขภาพ ร้อยละ 91.43 สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลสู่ชถมชน ร้อยละ 89.52 สามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวัน ร้อยละ 87.62 สรุปผลความพึงพอใจในกิจกรรมนี้ ร้อยละ 96.10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐
2
เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนประถมศึกษา ร้อยละ ๙๐มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี
3
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ
ภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ ๘๐ มีภาวะโภชนาการสมส่วน
4
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษา ร้อยละ ๙๐ มีสุขภาพฟันที่ดี
5
เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน
ตัวชี้วัด : - โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาห้องส้วมให้สะอาด สวยงาม
- ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนมีจิตสำนึก การมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องส้วม
- ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย
6
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์
7
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
ตัวชี้วัด : - นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๙๐ มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร
- นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ สามารถแปรรูปอาหารจากสมุนไพรได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (2) เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน (3) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ
ภาวะทุพโภชนาการ (4) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง (5) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน (6) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง (7) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60L8010-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนบ้านตูแตหรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60L8010-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60L8010-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,296.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัยเด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และการอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาหารเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกำลังกาย การดูแลความสะอาดของร่างกายการป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ หลักเลี่ยงสิ่งเสพติดให้โทษ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชนในโอกาสต่อไปได้
ซึ่งทางโรงเรียนบ้านตูแตหรำจะดำเนินทำโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาสุขภาพ นักเรียนแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมของการพัฒนาสุขภาพในชุมชน ซึ่งการดำเนินการในปีที่ผ่านมาโรงเรียนได้ร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลดำเนินการโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพด้วยสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และสามารถพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพนักเรียน ส่งผลให้โรงเรียนบ้านตูแตหรำมีสุขภาพที่ดีขึ้น
ในปี ๒๕๕๙ ถึง ปี ๒๕๖๐นอกจากโรงเรียนจะดำเนินการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนตามตัวชี้วัดแล้วโรงเรียนจะเน้นกระบวนการของกิจกรรมให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการวัดผลทางสุขภาพและพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งการดำเนินการพัฒนากิจกรรมด้านสุขภาพให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพได้นั้นโรงเรียนจะต้องได้รับความร่วมมือ และสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
- เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
- เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
๒. เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
๓. มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
๔. นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษามีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาโรงเรียน
๕. นักเรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปอาหารได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนรายบุคคล จากการดำเนินกิจกรรม (กำจัดเหาในโรงเรียน) พบว่า นักเรียนที่เป็นเหาประมาณ ร้อยละ 55 ในการจัดกิจกรรมนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับที่ดีมากและดี คิดเป็นร้อยละ 92.38 ในหัวข้อความร่วมมือของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 98.10 มีความรู้ ความเข้าใจในการกำจัดเหา สรุป พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมดังกล่าว คิดเป็นร้อยละ 93.10 และนักเรียนสามารถที่จะรักษาเหาของตัวเองที่บ้านได้ กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลและการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างถูกวิธี ไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจาก ไม่ได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลละงู กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ จากการสำรวจนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน และได้แนะนำผู้ปกครองและนักเรียนในการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ทำให้นักเรียนเข้าใจที่จะทำตามนักโภชนาการแนะนำ ทำให้นักเรียนที่มีสภาวะทุพโภชนาการ เริ่มลดลงแต่ยังไม่ประสบความสำเร็จมาก ด้านความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมนี้ ในด้านนักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ร้อยละ 92.45 จำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการลดลง ร้อยละ 72.23 นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่องโภชนาการไปใช้เลือกซื้ออาหารรับประทาน ร้อยละ 93.07 นักเรียนที่สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 86.10 โดยสรุปกิจกรรมนี้มีความพึงพอใจเฉลี่ยร้อยละ 86.62 กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมเด็กไทยฟันดี (ตูแตหรำวัยใส ฟันสวย)(กิจกรรมต่อเนื่อง) จากการดำเนินการของกิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง พบว่า นักเรียนรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี การใช้ยาสีฟันที่เหมาะสมกับวัย จากการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนในด้านต่าง ๆ พอสรุปได้ดังนี้ การให้ความรู้ของครู คิดเป็นร้อยละ 96.42 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาฟัน คิดเป็นร้อยละ 94.27 มีความต้องการในการจัดกิจกรรมแบบนี้อีก คิดเป็นร้อยละ 96.42 โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมคิดเป็นร้อยละ 93.63 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมสุขาน่าใช้ จากผลการดำเนินงานกิจกรรมสุขาน่าใช้ นักเรียนสามารถที่จะทำจุลินทรีย์ทำความสะอาดสุขา พบว่า นักเรียนร้อยละ 88.24 มีความพึงพอใจในความสะอาดของสุขาที่ใช้จุลินทรีย์ในการทำความสะอาด นักเรียนร้อยละ 86.55 มีความพึงพอใจบรรยากาศในห้องส้วม นักเรียนร้อยละ 89.08 มีความพึงพอใจความสะอาดบริเวณภายในห้องส้วม นักเรียนร้อยละ 95.80 โดยสรุปภาพรวมในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ นักเรียนมีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 88.91 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมสร้างสุขภาพ (กิจกรรมต่อเนื่อง) จากการดำเนินการกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพ (ตารางเก้าช่อง) นักเรียนมีความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านความเหมาะสมในการทำกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 93.28 ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 94.12 ด้านส่งผลดีต่อสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 98.32 สามารถนำไปสู่ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 96.94 และด้านนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 95.80 สรุปความพึงพอใจทั้งกิจกรรม คิดเป็น 93.45 กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จากการให้ความรู้ของน้ำดื่มสมุนไพร ทำให้นักเรียนรู้จักเลือกดื่มน้ำเพื่อสุขภาพได้มากขึ้น นักเรียนได้รับความรู้ ร้อยละ 87.62 ส่งผลดีต่อสุขภาพ ร้อยละ 91.43 สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลสู่ชถมชน ร้อยละ 89.52 สามารถนำไปใช้ชีวิตประจำวัน ร้อยละ 87.62 สรุปผลความพึงพอใจในกิจกรรมนี้ ร้อยละ 96.10
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยและประถมศึกษามีความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้นร้อยละ ๙๐ |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนประถมศึกษา ร้อยละ ๙๐มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี |
|
|||
3 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ
ภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ ๘๐ มีภาวะโภชนาการสมส่วน |
|
|||
4 | เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษา ร้อยละ ๙๐ มีสุขภาพฟันที่ดี |
|
|||
5 | เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน ตัวชี้วัด : - โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาห้องส้วมให้สะอาด สวยงาม - ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนมีจิตสำนึก การมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องส้วม - ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมถูกสุขลักษณะและสุขนิสัย |
|
|||
6 | เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ |
|
|||
7 | เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้ ตัวชี้วัด : - นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๙๐ มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร - นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ สามารถแปรรูปอาหารจากสมุนไพรได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (2) เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน (3) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะทุพโภชนาการ (4) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพฟันที่แข็งแรง (5) เพื่อสร้างจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดห้องสุขาของโรงเรียน (6) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียนประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง (7) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและสามารถแปรรูปเป็นอาหารได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 60L8010-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนบ้านตูแตหรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......