กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจติดตามสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเขตรพ.สต.ควนอินนอโม ปี 2561 ”
รพ. สต. บ้านควนอินนอโม ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสาครสงธนู




ชื่อโครงการ โครงการตรวจติดตามสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเขตรพ.สต.ควนอินนอโม ปี 2561

ที่อยู่ รพ. สต. บ้านควนอินนอโม ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3328-02-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจติดตามสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเขตรพ.สต.ควนอินนอโม ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ. สต. บ้านควนอินนอโม ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจติดตามสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเขตรพ.สต.ควนอินนอโม ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจติดตามสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเขตรพ.สต.ควนอินนอโม ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ. สต. บ้านควนอินนอโม ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3328-02-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญอาหารซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานานก่อให้เกิดการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและความหิวเพิ่มขึ้น หากไม่ได้รับการรักษาเบาหวานอาจก่อเกิดอาการแทรกซ้อนจำนวนมาก ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน และโคม่าเนื่องจากออสโมล่าร์สูงที่ไม่ได้เกิดจากคีโตน ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่ร้ายแรงรวมถึงโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองไตวาย แผลที่เท้าและความเสียหายต่อตา ส่วนโรคความดันโลหิตสูงคือภาวะแรงดันในหลอดเลือดแดงมีค่าสูงเกินปกติ140/90 มิลลิลิตรปรอท มีคนจำนวนมากแอยู่กับโรคความดันโลหิตสูงโดยที่ไม่ทราบว่าตนเองมีภาวะนี้ เนื่องจากเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการที่ชัดเจนแต่เมือนานไปแรงดันเลือดไปทำลายผนังหลอดเลือดและอวัยวะที่สำคัญทั่วเรื่องกาย โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดในหัวใจตีบ โรคอัมพาต ดังนั้นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจึงเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหัวใจและหลอดเลือด องค์การอนามัยโลกระบุไว้ว่าในปีนี้ผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 285 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 6.4 ของจำนวนประชากรทั่วโลกและคาดว่าอีก 20 ปี ข้างหน้าจำนวนผู้ป่วยจะพุ่งสูงขึ้นเป็น 438 ล้านคน คิดเป็นร้อย 7.8 ของจำนวนประชากรทั่วโลก สำหรับประเทศไทยจากการสำรวจประชาชนโดยการตรวจคัดกรองพบว่าความชุกของโรคเบาหวานเพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 8.9 คิดเป็นจำนวนมากถึง 4.8 ล้านคนและโรคความดันโลหิตสูงนั้นจมีผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงประมาณ10 ล้านคน ซึ่ง 70%ของคนกลุ่มนี้ไม่ทราบว่าตนเองมีภาวะเหล่านี้ทำให้ไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเหมาะสม อันจะนำไปสู่การเกิดโรคแทรกซ้อนมากมาย ซึ่งอาจร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิต เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อยลง การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือและไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ การป้องกันที่สำคัญ คือ ต้องควบคุมให้ระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ดังนั้นการสนับสนุนประชาชนให้เห็นความสำคัญในการใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองและรู้ค่าตัวเลขระดับความดันและระดับน้ำตาลของตนเอง จะทำให้เกิดความตระหนักในการประับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ดี จากการคัดกรองสุขภาพประชาชนพบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 32 และสงสัยป่วยร้อยละ 8 ส่วนโรคเบาหวานพบกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 28 และสงสัยป่วยร้อยละ 3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนอินนอโม เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยและกลุ่มเสี่ยง จึงจัดให้มีการดำเนินการในกลุ่มเสี่ยงรู้จักวิธีการวัดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลตนเองที่บ้าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จนนำไปสู่การดูแลตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของกุล่มสงสัยป่วย
  2. 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยตรวจสุขภาพเบื้องต้นก้วยตนเองเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. มีระบบการติดตามระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงด้วยตนเองในกลุ่มสงสัยป่วยและเสี่ยง
  4. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มสงสัยป่วยและเสี่ยงรู้จักวิธีการวัดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลด้วยตนเอง
    2. กลุ่มสงสัยป่วยและเสี่ยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่ป่วยไม่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    3. มีระบบการติดตามระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงในกลุ่มสงสัยป่วยและเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
    4. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของกุล่มสงสัยป่วย
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มสงสัยป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    0.00

     

    2 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยตรวจสุขภาพเบื้องต้นก้วยตนเองเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง
    0.00

     

    3 มีระบบการติดตามระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงด้วยตนเองในกลุ่มสงสัยป่วยและเสี่ยง
    ตัวชี้วัด : การติดตามระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    0.00

     

    4 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย กลุ่มสงสัยป่วยมีอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของกุล่มสงสัยป่วย (2) 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยตรวจสุขภาพเบื้องต้นก้วยตนเองเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) มีระบบการติดตามระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงด้วยตนเองในกลุ่มสงสัยป่วยและเสี่ยง (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจติดตามสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเขตรพ.สต.ควนอินนอโม ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L3328-02-24

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาครสงธนู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด